ณัฐธิดา ทนสูงเนิน

วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การใช้อินเตอร์เน็ตของเยาวชนไทย
บทนำ
นอกจากเนื้อหาต่างๆ ในอินเตอร์เน็ตแล้วสิ่งที่เป็นอันตรายจากการใช้งานในอินเตอร์เน็ตสำหรับเด็กนั้น ยังมีอีกหลายด้าน เช่น ใช้ในการสนทนา ทักทายกับบุคคลอื่นทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่ไม่รู้จัก จากโปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เยาวชนเป็นทรัพยากรที่สำคัญ หากเยาวชนมีคุณภาพ หมายความว่า โอกาสที่ประเทศนั้นจะพัฒนาไปในอนาคตนั้นมีมาก จึงได้มีการส่งเสริมให้มีการพัฒนาเยาวชนในด้านต่างๆ ในเรื่องของการศึกษา ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทด้านการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีสารสนเทศจะก่อให้เกิดประโยชน์ก็ต่อเมื่อมีการใช้งานที่เหมาะสมรูปแบบการควบคุมให้มีการใช้งานตามวัตถุประสงค์หรือการใช้งานที่เหมาะสมPirch chat icqและแฝงในเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีให้บริการกันมากมายเหลือเกิน และกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในหมู่วัยรุ่น หรือบางครั้ง แม้แต่ผู้ใหญ่ หรือวัยทำงานก็ไม่วายที่จะเข้ามาใช้บริการกับเขาด้วย ปัจจุบันนี้มีเกมออนไลน์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกมที่ค่อนข้างรุนแรง ไม่ได้พัฒนากระบวนการคิดและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์นัก แต่เกมต่างๆ เหล่านั้นทำให้เกิดลักษณะนิสัยก้าวร้าว การใช้ความรุนแรง ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นนอกจากจอคอมพิวเตอร์ และธุรกิจนี้ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้เยาวชนหมกมุ่นอยู่กับเรื่องการสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งเยาวชนได้ใช้เวลานี้ไม่ก่อประโยชน์ ใช้เวลาหมดไปวันหนึ่งเท่านั้น และยังเสียเงินค่าเช่าชั่วโมง โดยไม่ได้ความรู้อะไรเพิ่มเติมเลย เสียการเรียน เพราะหมกมุ่นอยู่กับเกม การสนทนาออนไลน์ และยังก่อให้เกิดปัญหาที่รุ่นแรง ดังมีข่าวที่เยาวชน รู้จักกันทางอินเตอร์เน็ต และนัดเจอกัน ก่อให้เกิดคดีข่มขืน และคดีอื่นอีกมากมาย ยืน ภู่วรรณ และสมชาย นำประเสริฐชัย. (2546). กล่าวถึงปัญหาอินเตอร์เน็ตกับเยาวชนไทยไว้ตอนหนี่งว่า สิ่งที่น่ากลัวมากคงเป็นเรื่องชองโรคระบาดทางอินเตอร์เน็ตที่ชื่อว่า IAD (Internet Addiction Disaster) และโรค Webaholic โรคทั้งสองโรคนี้เป็นโรคติดอินเตอร์เน็ตเหมือนกัน มักมีความต้องการในการใช้คอมพิวเตอร์ออนไลน์สูง ซึ่งโรคนี้จะมีผลร้ายทั้งในเรื่องของสุขภาพของผู้ติดเอง ทั้งในเรื่องสายตา ความสมดุลทางอารมณ์และปัญหานี้จะเป็นจุดเริ่มของการก่อตัวสำหรับปัญหาอื่นๆ ที่ตามมา เช่น ประสิทธิภาพของการเรียน และการทำงานลดต่ำลง และค่าใช้จ่ายในการใช้บริการและการเชื่อมต่อสูงมากขึ้น โรคติดอินเตอร์เน็ตนี้ส่วนใหญ่เป็นกับเด็กวัยรุ่นทั่วโลก ในประเทศไทยเองก็มีผู้ติดโรคนี้เป็นจำนวนไม่น้อย ส่วนใหญ่มักเป็นนิสิต นักศึกษา ที่ติดการท่องเว็บ ดาวน์โหลดโปรแกรม รูปภาพ ไฟล์ หรือพูดคุยสนทนากับผู้อื่นในอินเตอร์เน็ต โดยจะทำทุกครั้งที่มีโอกาส ไม่ว่าจะดึกเพียงใด หากคนที่ติดอินเตอร์เน็ตนี้ไม่สามารถทำได้จะเกิดอาการหงุดหงิด เป็นทุกข์ เหมือนคนติดยาแต่ไม่ได้เสพ นอกจากที่กล่าวมาแล้วยังมีอีกเรื่องหนึ่งที่น่าเป็นห่วง คือการเข้าไปใช้บริการในเว็บไซต์ต่างๆ ที่ไม่เหมาะสม เช่นเว็บไซต์ลามกอนาจาร ที่มีอยู่จำนวนมาก โดยการเข้าไปใช้บริการเว็บนั้นๆ ง่ายดายมาก ถึงแม้ว่าในสถานที่ราชการ หรือสถานศึกษาบางแห่งจะเข้าไปสกัดกั้น ไม่ให้เข้าไปใช้บริการบนเว็บนั้นได้ แต่ก็ไม่สามารถสกัดกั้นได้ เนื่องจากยังมีสถานที่ที่ค่อยรองรับการบริการแบบเช่าชั่วโมงให้กับเยาวชน ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วไป ข้อมูลเว็บไซต์เหล่านั้นมีออกมาหลากหลายรูปแบบ เพื่อดึงดูดความสนใจ ไม่ว่าจะนำเสนอเป็นภาพนิ่ง วีดีโอ ภาพยนตร์ ฯลฯ จึงทำให้ธุรกิจด้านสื่อลามกมีผู้ใช้บริการมากขึ้น จากการที่เยาวชนของเราได้เข้าไปดูในเว็บไซต์ต่างๆเหล่านี้ อาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมากมาย เช่น ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาครอบครัว ฯลฯ
จากการปัญหาที่เกิดขึ้น ต้นเหตุปัญหาที่สำคัญไม่ได้อยู่ที่อินเตอร์เน็ต แต่ที่สำคัญอยู่ที่คนของเรา คือผู้ใช้ ไม่มีความพร้อม สำนึกรู้ที่จะใช้ชีวิตในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ไม่มีวุฒิภาวะพอที่จะรับรู้ข้อมูลบางเรื่องที่ไม่สามารถวิเคราะห์แยกแยะได้ ไม่สามารถเร่งเห็นถึงคุณประโยชน์ และคุณโทษของเทคโนโลยีสารได้สนเทศ หากแต่ผู้ใช้มีความพร้อมมีศักยภาพพอที่จะจัดการกับตัวเองได้ ผู้ปกครองหมั่นเอาใจใส่ดูแลบุตรหลานของตนในการใช้งานอินเตอร์เน็ต โดยอาจกำหนดช่วงเวลาในการใช้งาน และหากพบว่าไม่สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุตรหลานได้ก็จำเป็นต้องปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือจิตแพทย์เพื่อช่วยเหลือ และควรสร้างสัมพันธ์ภายในครอบครัว การมีเวลาอยู่ด้วยกัน ทำกิจกรรมร่วมกันนั้น ช่วยลดปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคมได้เป็นอย่างดี
เด็กไทยกับภัยจากอินเทอร์เน็ต
| |||
| |||
|
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
1. เว็บไซต์ (Website) หมายถึง ที่ตั้งเครือข่ายข้อมูลที่เชื่อมโยงติดต่อกันได้ทั่วทุกมุมโลกโดยการค้นหาข้อมูลในแต่ละเว็บไซต์จะต้องทราบชื่อเว็บไซต์ที่เราต้องการหาข้อมูลนั้น ๆ หรือสามารถค้นหา
เว็บไซต์ที่เราต้องการค้นคว้าผ่านทางเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยได้ที่ www.google.com www.yahoo.com www.sanook.com เป็นต้น
1.1 การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ตามคำหลัก จะต้องอาศัยการประมวลข้อมูลที่ต้องการค้นหาออกมาเป็นคำหลัก (keyword) ให้ได้ก่อน
1.2 การสืบค้นข้อมูลในเว็บไซต์ตามหมวดหมู่ที่ทางเว็บไซต์ได้แบ่งหมวดหมู่ไว้อย่างชัดเจนทำให้สะดวกมากขึ้น โดยการจัดหมวดหมู่ของแต่ละเว็บไซต์จะแตกต่างกัน
2. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประเภทนี้จะแตกต่างจากห้องสมุดทั่วไปเพราะสามารถใช้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถค้นคว้าได้จากชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการค้นคว้าในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สามารถระบุข้อมูลหรือเงื่อนไขเฉพาะได้ชัดเจน เช่น ต้องการทราบผลงานของสุนทรภู่ เฉพาะเกี่ยวกับนิราศก็สามารถระบุเงื่อนไขที่เกี่ยวกับชื่อผู้แต่ง คือ สุนทรภู่ และระบุหัวข้อเรื่อง คือ นิราศ ระบบสามารถประมวลผลงานของสุนทรภู่เฉพาะเรื่องที่เป็นนิราศเท่านั้น
3. ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูล คือ แหล่งจัดเก็บข้อมูลหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือหมายหัวข้อที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง จำนวนข้อมูลในฐานข้อมูลมักมีมากมายนับหมื่น แสน หรือล้านรายการ
ออนไลน์ (online) เป็นคำทับศัพท์ หมายถึง การเชื่อมโยงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ให้ได้ตรงตามความต้องการ อาจใช้เทคนิคง่าย ๆ เข้าช่วย ดังนี้
1. ทำความเข้าใจความหมายของคำเชื่อมที่สำคัญ 3 คำ คือ
"และ" ใช้เพื่อจำกัดขอบเขตของข้อมูลให้แคบลง
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" และ "เรื่องสั้น" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลของ ว.วินิจฉัยกุล เฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสั้นเท่านั้น จะไม่ปรากฎเรื่องราวด้านอื่น ๆ เลย
"หรือ" ใช้เพื่อเพิ่มขอบเขตของข้อมูลให้กว้างขึ้น
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" หรือ "ทมยันตี" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลที่เกี่ยวกับ ว.วินิจฉัยกุล และทมยันตี ทั้งหมดที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนั้น
"ไม่" ใช้เพื่อลดขอบเขตของข้อมูล
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" ไม่ "ประวัติ" ข้อมูลที่ได้จะเน้นเรื่องราวของ ว.วินิจฉัยกุลทุกด้าน จะไม่มีเรื่องเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ ว.วินิจฉัยกุล เลย
2. ใช้สัญลักษณ์ หากไม่ทราบวิธีสะกดคำที่ถูกต้อง
เครื่องหมายคำถาม ? ใช้แทนอักษร 1 ตัว
เครื่องหมายดอกจัน* ใช้แทนอักษรหลายตัว
ตัวอย่าง ต้องการค้นเรื่องวิญญาณ แต่ไม่แน่ใจหรือไม่ทราบว่าตัวสะกดเป็น ณ หรือ น ให้พิมพ์ "วิญญา?"
ต้องการค้นเรื่อง ปัญจวัคคีย์ แต่ไม่แน่ใจตัวการันต์ให้พิมพ์ ปัญจวัคคี*
3. ฐานข้อมูลอีริก (ERIC database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้ใช้คำว่า NEAR สำหรับการค้นที่รวมคำที่ใกล้เคียงกับคำที่ต้องการด้วย
1. เว็บไซต์ (Website) หมายถึง ที่ตั้งเครือข่ายข้อมูลที่เชื่อมโยงติดต่อกันได้ทั่วทุกมุมโลกโดยการค้นหาข้อมูลในแต่ละเว็บไซต์จะต้องทราบชื่อเว็บไซต์ที่เราต้องการหาข้อมูลนั้น ๆ หรือสามารถค้นหา
เว็บไซต์ที่เราต้องการค้นคว้าผ่านทางเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยได้ที่ www.google.com www.yahoo.com www.sanook.com เป็นต้น
1.1 การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ตามคำหลัก จะต้องอาศัยการประมวลข้อมูลที่ต้องการค้นหาออกมาเป็นคำหลัก (keyword) ให้ได้ก่อน
1.2 การสืบค้นข้อมูลในเว็บไซต์ตามหมวดหมู่ที่ทางเว็บไซต์ได้แบ่งหมวดหมู่ไว้อย่างชัดเจนทำให้สะดวกมากขึ้น โดยการจัดหมวดหมู่ของแต่ละเว็บไซต์จะแตกต่างกัน
2. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประเภทนี้จะแตกต่างจากห้องสมุดทั่วไปเพราะสามารถใช้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถค้นคว้าได้จากชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการค้นคว้าในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สามารถระบุข้อมูลหรือเงื่อนไขเฉพาะได้ชัดเจน เช่น ต้องการทราบผลงานของสุนทรภู่ เฉพาะเกี่ยวกับนิราศก็สามารถระบุเงื่อนไขที่เกี่ยวกับชื่อผู้แต่ง คือ สุนทรภู่ และระบุหัวข้อเรื่อง คือ นิราศ ระบบสามารถประมวลผลงานของสุนทรภู่เฉพาะเรื่องที่เป็นนิราศเท่านั้น
3. ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูล คือ แหล่งจัดเก็บข้อมูลหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือหมายหัวข้อที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง จำนวนข้อมูลในฐานข้อมูลมักมีมากมายนับหมื่น แสน หรือล้านรายการ
ออนไลน์ (online) เป็นคำทับศัพท์ หมายถึง การเชื่อมโยงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ให้ได้ตรงตามความต้องการ อาจใช้เทคนิคง่าย ๆ เข้าช่วย ดังนี้
1. ทำความเข้าใจความหมายของคำเชื่อมที่สำคัญ 3 คำ คือ
"และ" ใช้เพื่อจำกัดขอบเขตของข้อมูลให้แคบลง
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" และ "เรื่องสั้น" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลของ ว.วินิจฉัยกุล เฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสั้นเท่านั้น จะไม่ปรากฎเรื่องราวด้านอื่น ๆ เลย
"หรือ" ใช้เพื่อเพิ่มขอบเขตของข้อมูลให้กว้างขึ้น
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" หรือ "ทมยันตี" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลที่เกี่ยวกับ ว.วินิจฉัยกุล และทมยันตี ทั้งหมดที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนั้น
"ไม่" ใช้เพื่อลดขอบเขตของข้อมูล
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" ไม่ "ประวัติ" ข้อมูลที่ได้จะเน้นเรื่องราวของ ว.วินิจฉัยกุลทุกด้าน จะไม่มีเรื่องเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ ว.วินิจฉัยกุล เลย
2. ใช้สัญลักษณ์ หากไม่ทราบวิธีสะกดคำที่ถูกต้อง
เครื่องหมายคำถาม ? ใช้แทนอักษร 1 ตัว
เครื่องหมายดอกจัน* ใช้แทนอักษรหลายตัว
ตัวอย่าง ต้องการค้นเรื่องวิญญาณ แต่ไม่แน่ใจหรือไม่ทราบว่าตัวสะกดเป็น ณ หรือ น ให้พิมพ์ "วิญญา?"
ต้องการค้นเรื่อง ปัญจวัคคีย์ แต่ไม่แน่ใจตัวการันต์ให้พิมพ์ ปัญจวัคคี*
3. ฐานข้อมูลอีริก (ERIC database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้ใช้คำว่า NEAR สำหรับการค้นที่รวมคำที่ใกล้เคียงกับคำที่ต้องการด้วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถสื่อสารถึงกันได้ ภายในเวลาอันรวดเร็ว ช่วยประหยัดทรัพยากรและที่สำคัญอินเตอร์เน็ตคือคลังสมองอันยิ่งใหญ่หรือห้องสมุดโลกที่ทุกคนสามารถค้นคว้าหาความรู้ข้อมูล ข่าวสารได้โดยไม่ต้องเดินทางไปยังแหล่งความรู้นั้น
ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต พอสรุปได้ดังนี้
1. ด้านการศึกษา (Tele Education) สำหรับผู้ที่อยู่ห่างไกลจาแหล่งศึกษาหรือผู้ที่สนใจจะลงทะเบียนเรียนในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ อังกฤษ ฯลฯ สามารถเรียนผ่านอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งเราเรียกว่า การศึกษาทางไกล กลายเป็นทางเลือกใหม่ในการศึกษาทุกระดับ ซึ่งการศึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive) สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
2. โฮมเพจกับการโฆษณา เป็นการโฆษณาสินค้าหรือธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต บริษัท หรือห้างร้านที่ทำธุรกิจบนดินเตอร์เน็ตจะจัดทำโฮมเพจของตนแล้วฝากไว้บนอินเตอร์เน็ต ทำให้การซื้อขาย และใช้บริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก
การทำธุรกิจการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) การซื้อขายสินค้า หรือบริการผ่านอินเตอร์เน็ต จะมีการชำระหรือจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการนั้น ๆ หรือผ่านบัตรเครดิตของผู้ซื้อแต่ต้องระมัดระวังเรื่อง การถอดรหัสบัตรเครดิตไปใช้แทนเจ้าของบัตรนั้น ๆ
3. ด้านความมั่นคงปลอดภัยของประเทศอินเตอร์เน็ตจะช่วยในการสื่อสารสืบค้นข้อมูล และใช้ระบบฐานข้อมูลประวัติอาชญากรร่วมกันได้ เช่น การส่งข้อมูลประวัติของอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น
4. ด้านธุรกิจ (E-Commerce) โดยเฉพาะธุรกิจได้มีการนำอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นอันมาก ดังต่อไปนี้
4.1 ด้านการธนาคาร (E-Banking) ธนาคารได้จัดทำระบบออนไลน์บนเครือข่ายที่ช่วยให้สามารถสอบถามยอดเงินและโอนเงินได้อย่างรวดเร็ว มีการติดต่อสื่อสาร และมีข้อมูลบนเว็บเพจของทุกธนาคาร
4.2 โฮมเพจกับการโฆษณา เป็นการโฆษณาสินค้าหรือธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต บริษัท หรือห้างร้านที่ทำธุรกิจบนดินเตอร์เน็ตจะจัดทำโฮมเพจของตนแล้วฝากไว้บนอินเตอร์เน็ต ทำให้การซื้อขาย และใช้บริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก
4.3 การทำธุรกิจการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) การซื้อขายสินค้า หรือบริการผ่านอินเตอร์เน็ต จะมีการชำระหรือจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการนั้น ๆ หรือผ่านบัตรเครดิตของผู้ซื้อแต่ต้องระมัดระวังเรื่อง การถอดรหัสบัตรเครดิตไปใช้แทนเจ้าของบัตรนั้น ๆ
5. การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นประโยชน์ขั้นพื้นฐานที่ได้รับจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คือ อีเมล์ (E-mail : Electronic Mail) หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ช่วยให้ประหยัด สะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถพูดคุยกันได้เหมือนอยู่ใกล้กัน
6. การประชุมทางไกล (Tele Conference) เป็นการประชุมของบุคคลที่อยู่ห่างไกลกันคนละสถานที่ โดยอาศัยระบบโทรคมนาคมซึ่งสื่อสารได้ทั้งตัวอักษร เสียงและภาพพร้อมกัน
ภัยอินเตอร์เน็ต
ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่าสิ่งใดก็ตามที่ได้คุณประโยชน์ก็ย่อมจะมีโทษในตัวมันเองสังคมมนุษย์ก็เช่นกันย่อมมีทั้งคนดีและคนเลวปะปนกันไป อินเตอร์เน็ตถือได้ว่า เป็นสังคมมนุษย์หนึ่งจากเกิดขึ้นจากความพยายามที่จะติดต่อสื่อสารกันของมนุษย์โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อกลางแทนที่จะเป็นคำพูด ท่าท่าง ฯลฯ แต่อินเตอร์เน็ตเป็นสังคมของคนทั้งโลกที่ไร้พรมแดน (Globalization)
ไม่แบ่งชั้นวรรณะย่อมเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมีสิ่งไม่ดีสิ่งที่เป็นภัยแอบแผงอยู่มาก รวมทั้งคนเลวซึ่งได้แก่บรรดามิจฉาชีพ อาชญากรรม (แบบไฮเทค) ได้อาศัยอินเตอร์เน็ต เป้นที่แผงตัวและหากินบนความทุกข์ของผู้อื่น ขอเสนอมุมมองเรื่องราวอินเตอร์เน็ตในแง่ลบเพื่อเป็นอุทธาหรณ์สำหรับผู้เล่นเน็ตอยู่จะได้ระแวดระวังและไม่ตกเป็นเหยื่อของโจรไฮเทคเหล่านี้
หลายคนคงทราบว่าในอินเตอร์เน็ตมีสิ่งยั่วยุกามารมณ์ที่ส่อไปในทางลามกอนาจารอยู่มาก ถึงแม้จะไม่มีผลเสียที่เกี่ยวข้องกับเราโดยตรง แต่ก็มีผลทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเด็ก ๆ ที่เป็นลูกหลานของเรา ต้องยอมรับว่ากว่า 50 % ของผู้ชายที่เริ่มใช้อินเตอร์เน็ตในครั้งแรก ๆ มักจะไปท่องหาเว็บที่มีภาพนู้ด ภาพโป้ต่าง ๆ ซึ่งถ้าเป็นการใช้เครื่องที่บ้าน ที่มีลูกหลานกำลังเรียนรู้และพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์ ก็อาจจะไปเข้าเว็บไซต์เหล่านั้น โดยไม่รู้ตัว เพราะซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้ในการท่องเว็บจะมีการเก็บบันทึกหมายเลขที่อยู่ของเว็บไซต์ (URL – address) เพื่อความสะดวกในการเข้าสู่เว็บไซต์นั้นในครั้งต่อไป
ซึ่งหมายเลขที่อยู่นี้สามารถถูกเรียกกลับขึ้นมาใช้ได้ง่าย ๆ เด็ก ๆ อาจจะเผลอไปเรียกเข้าก็จะเข้าสู่เว็บไซต์ได้ทันที และอาจจะกลับไปดูซ้ำในครั้งต่อ ๆ ไป หากผู้ปกครองละเลยนาน ๆ เข้าภาพเหล่านี้จะถูกปลูกฝังในความคิด ทำให้เด็กอาจมีพฤติกรรมการแสดงออกทางเทศกับเพศตรงข้ามที่ส่อไปในทางที่ผิดและอาจเลยไปถึงกระทำความผิดอาญาได้เมื่อโตขึ้น ภัยประเภทนี้ผลเสียจึงเกิดขึ้นในทางอ้อมโดยจะตกอยู่กับเด็กซึ่งเป็นลูกหลานและครอบครัว
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์แต่ละระบบส่วนใหญ่จะแยกทำงานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ใกล้กันเท่านั้นที่สามารถสื่อสารกันด้วยความเร็วต่ำ จากปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และความต้องการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน จึงทำให้เกิดโครงการอาร์พาเน็ต (ARPANET)
โครงการอาร์พาเน็ตอยู่ในความควบคุมดูแลของอาร์พา (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานย่อย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อาร์พาทำหน้าที่สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้ทุนสนับสนุน แก่หน่วยงานอื่น ๆ เช่น มหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนที่ทำการวิจัยและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969)
โครงการอาร์พาเน็ต ได้ริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4 แห่งนี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน
ต่อมาเครือข่ายอาร์พาเน็ตได้รับความนิยมอย่างมาก มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมเชื่อมต่อกับเครือข่ายนี้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและวิจัย
ในประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในลักษณะของการใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความร่วมมือระหว่างไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใช้สายโทรศัพท์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ต (UUNET) ของบริษัทยูยูเน็ตเทคโนโลยี จำกัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยู่ที่รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาและในปีเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่นสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต (THAINET) ซึ่งในปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สำนักวิทยาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ในปีเดียวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ได้จัดตั้งเครือข่ายไทยสารซึ่งต่อมาได้ต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และในปัจจุบันไทยสารได้เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ
การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อเพื่อใช้ระบบอินเตอร์เน็ตโดยทั่วไปแล้วหน่วยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนจะให้บริการแก่ผู้ใช้ ผู้ใช้ยังสามารถเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต โดยใช้บริการขององค์กรที่เรียกว่าผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีจำนวน 18 ราย (ข้อมูลปัจจุบันศึกษาได้จาก http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html)
การแทนชื่อที่อยู่อินเตอร์เน็ต
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง (Direct internet access) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง ผู้ใช้จะต้องมีคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกับโครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน (Backbone) โดยต้องมีอุปกรณ์ ที่ทำหน้าที่เป็นเกดเวย์ ในการเชื่อมต่อ สถาบันการศึกษาที่อนุญาตให้หน่วยงานอื่นใช้เครือข่ายร่วมกัน หรือผู้ที่ให้บริการอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรงเป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา จะเสียค่าใช้จ่ายในกาติดตั้งค่อนข้างสูง แต่มีข้อดีคือการรับ-ส่งข้อมูล จะสามารถทำได้โดยตรงทำให้รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วและมีความน่าเชื่อถือ
2. การเชื่อมต่อผ่านโทรศัพท์และโมเด็ม (Dial-up access) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตประเภทนี้จะใช้สายโทรศัพท์ ที่ใช้กันตามบ้านหรือที่ทำงานทั่วไปโดยจะให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งติดต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายโดยใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณที่เรียกว่าโมเด็ม เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่ให้บริการ เช่น ISP แล้ว คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตเสมือนกับการต่อเชื่อมโดยตรง ข้อดีของการเชื่อมต่อประเภทนี้คือ ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าการเชื่อมต่อโดยตรง เนื่องมาจากมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายในการเช่าคู่สายโทรศัพท์ไป ยังต่างประเทศ
เวิลด์ไวด์เว็บ (World wide web หรือ www)
ในช่วงแรก ๆ การบริการข้อมูลข่าวสารจะส่งถึงกันบนโปรโตคอล telnet และใช้ ftp (file transfer protocol) เพื่อการแลกเปลี่ยนส่งไฟล์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1991 Tim Berners – Lee นักเขียนโปรแกรมที่ทำงานในสถาบัน CERN ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งยุโรป ที่ประเทศสวัติเซอร์แลนด์ ได้พัฒนาโปรแกรมเพื่อให้อินเตอร์เน็ตใช้งานได้ง่ายขึ้นและช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเอกสารบนอินเตอร์เน็ตที่เรียกว่าเว็บเพจ ที่สามารถเชื่อมโยง ไปยังเอกสารที่เกี่ยวข้องกันได้การเชื่อมโยงเอกสารนี้เรียกว่า ไฮเปอร์ลิงก์
ผู้ใช้สามารถเชื่อมโยงเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยู่ใน คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันหรือต่างเครื่องกันที่อยู่คนละประเทศได้อย่างรวดเร็ว เครือข่ายของเอกสารเหล่านี้ประกอบกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ในการนำเสนอข้อมูลนี้บนอินเตอร์เน็ตรู้จักโดยทั่วไปว่า World Wide Web (www) หรือ W3 หรือ Web และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บเพจเรียกว่าเว็บไซต์ (Web Site)
เว็บเพจ (Web Pages) คือ เอกสารที่เป็นไฮเปอร์เท็กส์ หรือไฮเปอร์มีเดียซึ่งไฮเปอร์มีเดียเป็นสื่อประสมต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล อาจอยู่ในรูปของข้อความ ภาพกราฟฟิส ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงการสร้างเว็บเพจสามารถใช้ภาษา Hypertext Markup Language หรือ HTML ซึ่งประกอบด้วยชุดของคำสั่งที่เรียกว่าแท็ก หรือมาร์กอัป
อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถสื่อสารถึงกันได้ ภายในเวลาอันรวดเร็ว ช่วยประหยัดทรัพยากรและที่สำคัญอินเตอร์เน็ตคือคลังสมองอันยิ่งใหญ่หรือห้องสมุดโลกที่ทุกคนสามารถค้นคว้าหาความรู้ข้อมูล ข่าวสารได้โดยไม่ต้องเดินทางไปยังแหล่งความรู้นั้น
ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต พอสรุปได้ดังนี้
1. ด้านการศึกษา (Tele Education) สำหรับผู้ที่อยู่ห่างไกลจาแหล่งศึกษาหรือผู้ที่สนใจจะลงทะเบียนเรียนในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ อังกฤษ ฯลฯ สามารถเรียนผ่านอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งเราเรียกว่า การศึกษาทางไกล กลายเป็นทางเลือกใหม่ในการศึกษาทุกระดับ ซึ่งการศึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive) สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
2. โฮมเพจกับการโฆษณา เป็นการโฆษณาสินค้าหรือธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต บริษัท หรือห้างร้านที่ทำธุรกิจบนดินเตอร์เน็ตจะจัดทำโฮมเพจของตนแล้วฝากไว้บนอินเตอร์เน็ต ทำให้การซื้อขาย และใช้บริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก
การทำธุรกิจการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) การซื้อขายสินค้า หรือบริการผ่านอินเตอร์เน็ต จะมีการชำระหรือจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการนั้น ๆ หรือผ่านบัตรเครดิตของผู้ซื้อแต่ต้องระมัดระวังเรื่อง การถอดรหัสบัตรเครดิตไปใช้แทนเจ้าของบัตรนั้น ๆ
3. ด้านความมั่นคงปลอดภัยของประเทศอินเตอร์เน็ตจะช่วยในการสื่อสารสืบค้นข้อมูล และใช้ระบบฐานข้อมูลประวัติอาชญากรร่วมกันได้ เช่น การส่งข้อมูลประวัติของอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น
4. ด้านธุรกิจ (E-Commerce) โดยเฉพาะธุรกิจได้มีการนำอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นอันมาก ดังต่อไปนี้
4.1 ด้านการธนาคาร (E-Banking) ธนาคารได้จัดทำระบบออนไลน์บนเครือข่ายที่ช่วยให้สามารถสอบถามยอดเงินและโอนเงินได้อย่างรวดเร็ว มีการติดต่อสื่อสาร และมีข้อมูลบนเว็บเพจของทุกธนาคาร
4.2 โฮมเพจกับการโฆษณา เป็นการโฆษณาสินค้าหรือธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต บริษัท หรือห้างร้านที่ทำธุรกิจบนดินเตอร์เน็ตจะจัดทำโฮมเพจของตนแล้วฝากไว้บนอินเตอร์เน็ต ทำให้การซื้อขาย และใช้บริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก
4.3 การทำธุรกิจการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) การซื้อขายสินค้า หรือบริการผ่านอินเตอร์เน็ต จะมีการชำระหรือจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการนั้น ๆ หรือผ่านบัตรเครดิตของผู้ซื้อแต่ต้องระมัดระวังเรื่อง การถอดรหัสบัตรเครดิตไปใช้แทนเจ้าของบัตรนั้น ๆ
5. การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นประโยชน์ขั้นพื้นฐานที่ได้รับจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คือ อีเมล์ (E-mail : Electronic Mail) หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ช่วยให้ประหยัด สะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถพูดคุยกันได้เหมือนอยู่ใกล้กัน
6. การประชุมทางไกล (Tele Conference) เป็นการประชุมของบุคคลที่อยู่ห่างไกลกันคนละสถานที่ โดยอาศัยระบบโทรคมนาคมซึ่งสื่อสารได้ทั้งตัวอักษร เสียงและภาพพร้อมกัน
ภัยอินเตอร์เน็ต
ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่าสิ่งใดก็ตามที่ได้คุณประโยชน์ก็ย่อมจะมีโทษในตัวมันเองสังคมมนุษย์ก็เช่นกันย่อมมีทั้งคนดีและคนเลวปะปนกันไป อินเตอร์เน็ตถือได้ว่า เป็นสังคมมนุษย์หนึ่งจากเกิดขึ้นจากความพยายามที่จะติดต่อสื่อสารกันของมนุษย์โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อกลางแทนที่จะเป็นคำพูด ท่าท่าง ฯลฯ แต่อินเตอร์เน็ตเป็นสังคมของคนทั้งโลกที่ไร้พรมแดน (Globalization)
ไม่แบ่งชั้นวรรณะย่อมเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมีสิ่งไม่ดีสิ่งที่เป็นภัยแอบแผงอยู่มาก รวมทั้งคนเลวซึ่งได้แก่บรรดามิจฉาชีพ อาชญากรรม (แบบไฮเทค) ได้อาศัยอินเตอร์เน็ต เป้นที่แผงตัวและหากินบนความทุกข์ของผู้อื่น ขอเสนอมุมมองเรื่องราวอินเตอร์เน็ตในแง่ลบเพื่อเป็นอุทธาหรณ์สำหรับผู้เล่นเน็ตอยู่จะได้ระแวดระวังและไม่ตกเป็นเหยื่อของโจรไฮเทคเหล่านี้
หลายคนคงทราบว่าในอินเตอร์เน็ตมีสิ่งยั่วยุกามารมณ์ที่ส่อไปในทางลามกอนาจารอยู่มาก ถึงแม้จะไม่มีผลเสียที่เกี่ยวข้องกับเราโดยตรง แต่ก็มีผลทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเด็ก ๆ ที่เป็นลูกหลานของเรา ต้องยอมรับว่ากว่า 50 % ของผู้ชายที่เริ่มใช้อินเตอร์เน็ตในครั้งแรก ๆ มักจะไปท่องหาเว็บที่มีภาพนู้ด ภาพโป้ต่าง ๆ ซึ่งถ้าเป็นการใช้เครื่องที่บ้าน ที่มีลูกหลานกำลังเรียนรู้และพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์ ก็อาจจะไปเข้าเว็บไซต์เหล่านั้น โดยไม่รู้ตัว เพราะซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้ในการท่องเว็บจะมีการเก็บบันทึกหมายเลขที่อยู่ของเว็บไซต์ (URL – address) เพื่อความสะดวกในการเข้าสู่เว็บไซต์นั้นในครั้งต่อไป
ซึ่งหมายเลขที่อยู่นี้สามารถถูกเรียกกลับขึ้นมาใช้ได้ง่าย ๆ เด็ก ๆ อาจจะเผลอไปเรียกเข้าก็จะเข้าสู่เว็บไซต์ได้ทันที และอาจจะกลับไปดูซ้ำในครั้งต่อ ๆ ไป หากผู้ปกครองละเลยนาน ๆ เข้าภาพเหล่านี้จะถูกปลูกฝังในความคิด ทำให้เด็กอาจมีพฤติกรรมการแสดงออกทางเทศกับเพศตรงข้ามที่ส่อไปในทางที่ผิดและอาจเลยไปถึงกระทำความผิดอาญาได้เมื่อโตขึ้น ภัยประเภทนี้ผลเสียจึงเกิดขึ้นในทางอ้อมโดยจะตกอยู่กับเด็กซึ่งเป็นลูกหลานและครอบครัว
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์แต่ละระบบส่วนใหญ่จะแยกทำงานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ใกล้กันเท่านั้นที่สามารถสื่อสารกันด้วยความเร็วต่ำ จากปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และความต้องการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน จึงทำให้เกิดโครงการอาร์พาเน็ต (ARPANET)
โครงการอาร์พาเน็ตอยู่ในความควบคุมดูแลของอาร์พา (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานย่อย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อาร์พาทำหน้าที่สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้ทุนสนับสนุน แก่หน่วยงานอื่น ๆ เช่น มหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนที่ทำการวิจัยและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969)
โครงการอาร์พาเน็ต ได้ริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4 แห่งนี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน
ต่อมาเครือข่ายอาร์พาเน็ตได้รับความนิยมอย่างมาก มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมเชื่อมต่อกับเครือข่ายนี้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและวิจัย
ในประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในลักษณะของการใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความร่วมมือระหว่างไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใช้สายโทรศัพท์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ต (UUNET) ของบริษัทยูยูเน็ตเทคโนโลยี จำกัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยู่ที่รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาและในปีเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่นสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต (THAINET) ซึ่งในปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สำนักวิทยาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ในปีเดียวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ได้จัดตั้งเครือข่ายไทยสารซึ่งต่อมาได้ต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และในปัจจุบันไทยสารได้เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ
การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อเพื่อใช้ระบบอินเตอร์เน็ตโดยทั่วไปแล้วหน่วยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนจะให้บริการแก่ผู้ใช้ ผู้ใช้ยังสามารถเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต โดยใช้บริการขององค์กรที่เรียกว่าผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีจำนวน 18 ราย (ข้อมูลปัจจุบันศึกษาได้จาก http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html)
การแทนชื่อที่อยู่อินเตอร์เน็ต
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง (Direct internet access) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง ผู้ใช้จะต้องมีคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกับโครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน (Backbone) โดยต้องมีอุปกรณ์ ที่ทำหน้าที่เป็นเกดเวย์ ในการเชื่อมต่อ สถาบันการศึกษาที่อนุญาตให้หน่วยงานอื่นใช้เครือข่ายร่วมกัน หรือผู้ที่ให้บริการอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรงเป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา จะเสียค่าใช้จ่ายในกาติดตั้งค่อนข้างสูง แต่มีข้อดีคือการรับ-ส่งข้อมูล จะสามารถทำได้โดยตรงทำให้รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วและมีความน่าเชื่อถือ
2. การเชื่อมต่อผ่านโทรศัพท์และโมเด็ม (Dial-up access) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตประเภทนี้จะใช้สายโทรศัพท์ ที่ใช้กันตามบ้านหรือที่ทำงานทั่วไปโดยจะให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งติดต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายโดยใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณที่เรียกว่าโมเด็ม เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่ให้บริการ เช่น ISP แล้ว คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตเสมือนกับการต่อเชื่อมโดยตรง ข้อดีของการเชื่อมต่อประเภทนี้คือ ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าการเชื่อมต่อโดยตรง เนื่องมาจากมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายในการเช่าคู่สายโทรศัพท์ไป ยังต่างประเทศ
เวิลด์ไวด์เว็บ (World wide web หรือ www)
ในช่วงแรก ๆ การบริการข้อมูลข่าวสารจะส่งถึงกันบนโปรโตคอล telnet และใช้ ftp (file transfer protocol) เพื่อการแลกเปลี่ยนส่งไฟล์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1991 Tim Berners – Lee นักเขียนโปรแกรมที่ทำงานในสถาบัน CERN ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งยุโรป ที่ประเทศสวัติเซอร์แลนด์ ได้พัฒนาโปรแกรมเพื่อให้อินเตอร์เน็ตใช้งานได้ง่ายขึ้นและช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเอกสารบนอินเตอร์เน็ตที่เรียกว่าเว็บเพจ ที่สามารถเชื่อมโยง ไปยังเอกสารที่เกี่ยวข้องกันได้การเชื่อมโยงเอกสารนี้เรียกว่า ไฮเปอร์ลิงก์
ผู้ใช้สามารถเชื่อมโยงเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยู่ใน คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันหรือต่างเครื่องกันที่อยู่คนละประเทศได้อย่างรวดเร็ว เครือข่ายของเอกสารเหล่านี้ประกอบกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ในการนำเสนอข้อมูลนี้บนอินเตอร์เน็ตรู้จักโดยทั่วไปว่า World Wide Web (www) หรือ W3 หรือ Web และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บเพจเรียกว่าเว็บไซต์ (Web Site)
เว็บเพจ (Web Pages) คือ เอกสารที่เป็นไฮเปอร์เท็กส์ หรือไฮเปอร์มีเดียซึ่งไฮเปอร์มีเดียเป็นสื่อประสมต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล อาจอยู่ในรูปของข้อความ ภาพกราฟฟิส ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงการสร้างเว็บเพจสามารถใช้ภาษา Hypertext Markup Language หรือ HTML ซึ่งประกอบด้วยชุดของคำสั่งที่เรียกว่าแท็ก หรือมาร์กอัป
วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นและบริการบนอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นและบริการบนอินเตอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของอินเตอร์เน็ตช่วงปีคริสต์ศตวรรษ 1960 (ประมาณปี 2503) ซึ่งเป็นยุคสงครามเย็น ระหว่าง สหรัฐกับโซเวียต มีความเสี่ยงทางการทหาร และ ความเป็นไปได้ ที่จะถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรือ นิวเคลียร์ การทำลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูลอาจทำให้ เกิดปัญหาทางการรบ และในช่วงนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ มีมากมายหลากแบบ นับเป็นอุปสรรคสำคัญ ทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และโปรแกรมกันได้โดยสะดวก จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่สามารถ เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้
รัฐบาลสหรัฐ จึงเริ่มต้นโครงการ อาร์พาเน็ต (ARPA net) เมื่อปี 2509 (1966) ดูแลโดย หน่วยงานวิจัยชั้นสูงของสหรัฐ (ARPA: The Advanced Research Projects Agency ซึ่งเปลี่ยนชื่อเป็น DARPA: Defense Advanced Research Projects Agency ในปี 2514 (1971) แล้วเปลี่ยนกลับเป็น ARPA ในปี 2536 (1993) และล่าสุดเปลี่ยนกลับเป็น DARPA ในปี 2539 (1996)) ในสังกัด กระทรวงกลาโหม เพื่อให้คอมพิวเตอร์รู้จัก ค้นหาเส้นทางเชื่อมโยง และส่งข้อมูลโดยอัตโนมัติ (dynamic routing)ในกรณี
ที่เครือข่ายบางจุดถูกทำลาย หรือเกิดความเสียหาย เครือข่ายที่เชื่อมโยงอยู่ในระบบที่เหลือ จะต้องทำงานได้สำเร็จลุล่วงต่อไปได้
จุดเริ่มของ อาร์พาเน็ต ได้ทำการทดลองต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ จาก 4 แห่ง ช่วงเดือนกันยายน 2512 (1969) เริ่มต้นจากมหาวิทยาลัย ลอสแองเจอลิส (UCLA) กับ สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด (SRI) ทั้งสองแห่งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และเพิ่มอีกสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยซานตาบาร์บารา (UCSB) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย, และมหาวิทยาลัยแห่งรัฐยูท่าห์ (
แนวคิดเบื้องต้นของวิธีการส่งข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เกิดจากพัฒนาการของ "โปรโตคอล (Protocol) " ซึ่งหมายถึง มาตรฐานกลางของการเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์หลากหลายระบบ รวมถึงวิธีการส่งข้อมูล และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ โปรโตคอลเหล่านี้ มีพัฒนาการมาเป็นลำดับ ตั้งแต่ NCP (Network Control Protocol) และล่าสุดเป็น TCP/IP (Transmission
Control Protocol / Internet Protocol)
จากเครือข่ายแวน (wide-area computer network) ระบบแรกที่เกิดในปี 2508 (1965) เป็นการต่อ คอมพิวเตอร์ TX-2 ในแมสซาจูเส็ท เข้าไป ควบคุมเรียกใช้งาน คอมพิวเตอร์ Q-32 ในแคลิฟอร์เนีย เชื่อมต่อกันด้วยระบบเซอร์กิตสวิชชิ่ง ผ่านสายโทรศัพท์ ความเร็วต่ำ (dial-up telephone line) ซึ่งมีความเร็วไม่เพียงพอทำให้ต้องพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ที่สำคัญยิ่ง ขึ้นมาทดแทน ช่วยให้คอมพิวเตอร์ต่างระบบคุยกันรู้เรื่องคือ "แพ็คเก็จ สวิชชิ่ง" (packet switching)
กลายมาเป็นความแพร่หลายของ ระบบเครือข่ายท้องถิ่นหรือแลน (LAN: Local Area Network) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC)และ เวิร์คเตชั่น (workstation) ส่งผลให้เกิด เทคโนโลยี อีเธอร์เน็ต (Ethernet technology) ในปี 2516 (1973) ทำให้ระบบเครือข่ายขยายขนาดใหญ่มากขึ้น ซึ่งมีการแบ่งขนาดของระบบเป็น คลาส (Class) ต่างๆ และใช้ระบบหมายเลขไอพี (IP) แทนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น 255.255.0.0 แต่เนื่องจากไม่เพียงพอต่อการให้บริการ ทำให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นระบบ โดเมนเนม (DNS: Domain Name System) ขึ้น โดยพอล มอคคาเพทริส (Paul Mockapetris แห่ง USC/ISI) เช่น www.cisco.com และทำให้ระบบอินเตอร์เน็ต ขยายใหญ่โตขึ้นเรื่อยๆ
จวบจนกระทั่งปี 2528 (1985) ระบบอินเตอร์เน็ต ถือเป็นเทคโนโลยีที่ฮอทฮิต สมบูรณ์พร้อมรองรับการใช้งานด้านการสื่อสาร แพร่ขยายไปในวงกว้าง ทั้งนักวิจัย นักพัฒนา และบุคคลทั่วไป
ในประเทศไทย การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี 2535 โดยมีจุดเชื่อมต่อ 2 แห่ง คือ จากศูนย์เทคโนโลยีและอีเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ หรือ NECTEC และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปัจจุบันมีคนรู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโตมากกว่า 100 % สมาชิกของอินเตอร์เน็ตขยายจากอาจารย์ และนิสิตนักศึกษาในระอับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยทางกายภาพ คือคอมพิวเตอร์จำนวนมหาศาล ต่างระบบ เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน แต่สิ่งที่สัญจรไปในอินเตอร์เน็ต เปรียบได้กับ เลือดที่หล่อเลี้ยงร่างอินเตอร์เน็ตนั้น ซึ่งก็คือ ข้อมูลชนิดต่างๆ ที่เรียกผ่าน บริการพื้นฐานของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet) คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมโยงเครือข่ายทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ “Cyberspace“คำเต็มของอินเตอร์เน็ตคือ อินเตอร์เน็ตเวิร์คกิ้ง (Internet Working) ต่อมานิยมเรียกสั้น ๆว่า อินเตอร์เน็ต หรือ เน็ต
บริการบนอินเตอร์เน็ต
การที่มีระบบอินเตอร์เน็ต ทำให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยัง อีกที่หนึ่ง โดยไม่จำกัดระยะทางส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ ภาพ ตัวหนังสือ ภาพและเสียง โดยอาศัยเครือข่าย โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย หรือโทรศัพท์
1. บริการอีเมล์ (E-Mail : Electronic mail) หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คือบริการการสื่อสาร บนอินเตอร์เน็ต ที่นิยมใช้กันมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง สะดวก ใช้ง่าย ประหยัด รวดเร็ว ใช้กับงานที่เป็นทางการก็ได้ ไม่เปลืองซอง กระดาษ แสตมป์ ไม่ต้องเดินหาตู้ส่งจดหมาย หรือไปรษณีย์ แนบไฟล์รูปเข้าไปได้ (รวมทั้งมีมนุษย์หัวใส แนบไฟล์ไวรัสได้ด้วย) ปัจจุบัน ยังสามารถใส่รูปแบบตัวหนังสือ สีสัน
จัดหน้าสวยงาม ด้วยรูปแบบ HTML หรือเวิลด์ไวด์เว็บ ก็ได้ อีกทั้งเวิลด์ไวด์เว็บก็พัฒนารูปแบบ ให้ส่งอีเมล์ได้ด้วย เช่น ฮอทเมล์ (Hotmail),ยาฮูเมล์ (Yahoo mail), ไทยเมล์ (Thai mail), เนทแอดเดรส (net address) ฯลฯ
จัดหน้าสวยงาม ด้วยรูปแบบ HTML หรือเวิลด์ไวด์เว็บ ก็ได้ อีกทั้งเวิลด์ไวด์เว็บก็พัฒนารูปแบบ ให้ส่งอีเมล์ได้ด้วย เช่น ฮอทเมล์ (Hotmail),ยาฮูเมล์ (Yahoo mail), ไทยเมล์ (Thai mail), เนทแอดเดรส (net address) ฯลฯ
รูปแบบที่อยู่ของอีเมล์ จะประกอบด้วย ชื่อ ตามติดด้วยเครื่องหมาย @ และโดเมนเนม เสมอ เช่น nicha_kr_2007@hotmail.com ซึ่งต้องติดต่อขอกับผู้ให้บริการ หรือเว็บมาสเตอร์ ให้จัดทำขึ้น โดยที่เราสามารถเลือกชื่อได้ (ถ้าไม่ซ้ำกับใคร)
2. บริการเทลเน็ต (Telnet) หรือการขอเข้าระบบจากระยะไกล ซึ่งเป็นบริการที่ให้เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่องที่อยู่ไกลๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น ถ้าเราทำงานโดยใช้อินเตอร์เน็ตของโรงเรียน แล้วกลับไปที่บ้าน เรามีคอมพิวเตอร์และต่ออินเตอร์เน็ตไว้ เราก็สามารถเรียกข้อมูลจากโรงเรียน มาทำที่บ้านได้ เสมือนกับเราทำงานที่โรงเรียนนั่นเอง3. บริการการถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) คือบริการของระบบอินเตอร์เน็ต ให้เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภท ตัวหนังสือ รูปภาพ และเสียง
4. บริการการสืบค้นข้อมูล (Gopher, Archie, World Wide Web) คือการใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข่าวสารต่าง ๆ เช่น การสืบค้นข้อมูลการท่องเที่ยว, การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวันสำคัญ, บุคคลสำคัญ, เทศกาลต่างๆ เป็นต้นซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายและสะดวกมาก
5. บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการแลกข่าวสารความคิดเห็นของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตทั่วโลก สามารถมาพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตนเองโดยมีการจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มข่าว หรือนิวส์กรุ๊ป (News group) เช่น เรื่องหนังสือ เรื่อง การเลี้ยงสัตว์ เรื่องละคร เรื่องกีฬา ฯลฯ
6. บริการสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC) เป็นการพูดคุยระหว่างผู้ใช้อินเตอร์เน็ตโดยการพิมพ์ข้อความโต้ตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ได้รับความนิยม มากอีกวิธีหนึ่งในขณะนี้
7. บริการซื้อ-ขายสินค้าและบริการ (E-Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อสินค้าและบริการ เช่น การซื้อ–ขาย หนังสือคอมพิวเตอร์ บริการการท่องเที่ยว ฯลฯ และปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเตอร์เน็ตในการทำธุรกิจบริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งในปี 2540 ที่ผ่านมา การค้าขายบนอินเตอร์เน็ตมีมูลค่าสูงถึง 1 แสนล้านบาท8. บริการด้านความบันเทิง (Entertain) อินเตอร์เน็ตมีการบริการด้านความบันเทิง ในรูปแบบบริการต่าง ๆ มากมาย และหลากหลาย เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น ซึ่งเราก็สามารถเลือกใช้บริการต่าง ๆเหล่านั้นเพื่อความบันเทิงได้ตลอด 24 ชั่วโมง และจากทั่วทุกมุมโลกทั้งจากในประเทศและนอกประเทศ
9. บริการ E – Learning (Electronic Learning) คือบริการทางด้าน ICT (Information and Communication Technology) เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวก ในการจัดการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ และการอบรม ต่าง ๆ
10. บริการเวิลด์ไวด์เว็บ และเว็บบราวเซอร์ (World Wide Web) หรือเครือข่ายใยพิภพ เป็นบริการหนึ่งที่ทำให้อินเตอร์เน็ตร้อนแรงที่สุดในยุคนี้ และไม่มีใครเกิน บริการเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นตัวสร้างภาพที่สวยสดงดงาม พร้อมสรรพด้วยข้อมูลหลากหลายประเภท อาทิเสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ นำเสนอรวมในหน้าเอกสารเดียวกัน
นอกจากนี้ยังมีบริการอื่นๆ ที่ทำได้บนระบบอินเตอร์เน็ต อีกมากมาย อาทิเช่น เวส (WAIS) , เวอโรนิก้า (Veronica) ฯลฯ
สรุปความเป็นมาของอินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องทั่วโลกเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว (Global Network) ที่รวมผู้ใช้กว่า 60 ล้านคน เพื่อประกอบกิจกรรมหลากหลายตั้งแต่ การพูดคุย การสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ การค้าขายแบบอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาทางไกล ฯลฯ เมื่อครั้งที่อินเตอร์เน็ตถือกำเนิดขึ้นนั้น ไม่มีใครเคยคาดคิดว่ามันจะกลายมาเป็นเครือข่าย ที่มีบทบาทกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันจนถึงขนาดที่กำลังจะปฏิวัติวิธีการดำเนินชีวิตของประชากรโลกในศตวรรษหน้า กล่าว คือเมื่อ 20 ปีก่อน กระทรวงกลาโหมสหรัฐได้มีมติด่วนให้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า ARPANET จุดมุ่งหมาย คือให้ เป็นเครือข่ายที่มีความเชื่อถือได้สูง สามารถที่จะทำงานได้แม้ภายหลังที่อเมริกาถูกถล่มโดยอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมเครือข่าย ต้องมีความสามารถที่จะทำงานกับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่เหลือจากการทำลายของอาวุธนิวเคลียร์ เช่น หากโครงข่ายโทรศัพท์ และ เคเบิลถูกทำลายในบางพื้นที่ เครือข่ายจะยังคงทำงานได้โดยการสลับมาใช้โครงข่ายอื่น เช่น โครงข่ายดาวเทียม หรือวิทยุเป็นต้น นอกจากนั้นเทคโนโลยีดังกล่าวต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างประเภท และต่างรุ่นที่มีอยู่ทั่วโลกไปตาม ฐานทัพต่าง ๆ ในครั้งนั้นการพัฒนาเครือข่าย ARPANET ได้กระทำร่วมกันระหว่างกระทรวงกลาโหม กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งหน่วยงานสำคัญ ๆ เช่นองค์การ NASA ทำให้ ARPANET เริ่มเติบโต โดยเริ่มมีการใช้งานมากขึ้นสำหรับการศึกษาและการวิจัย ถึงแม้จะเริ่มมีการพัฒนาเครือข่ายอื่น ๆ เช่น DECNET และ BITNET ขึ้นมาเป็นคู่แข่ง แต่เพราะข้อดีของ ARPANET ที่เป็นระบบ เปิดที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ทำให้ไม่จำกัดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ โครงข่ายเชื่อม (Physical Links) แบบใดแบบหนึ่ง ทำให้มันเอาชนะคู่แข่งและกลายมาเป็นตัวเชื่อมเครือข่ายอื่น ๆ ที่เข้ากันไม่ได้ ให้สามารถคุยกันรู้เรื่อง ด้วยเหตุนี้ทำให้ ARPANETถูกพัฒนามาเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หรือ อินเตอร์เน็ต (internet) ในที่สุด ข้อดีของการที่เป็นระบบเปิด คือ สามารถใช้ เทคโนโลยีการเชื่อมต่อได้หลายแบบทั้ง ไมโครเวฟ ดาวเทียม โทรศัพท์ เคเบิล ใยแก้วนำแสง หรือแม้แต่ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ และสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดก็ได้รวมทั้งยังบริหารง่ายคือผู้ใช้ออกค่าใช้จ่ายเฉพาะส่วนของตน ทำให้อินเตอร์เน็ตขยายตัวง่ายในขณะที่ความ ซับซ้อนของงานไม่เพิ่มขึ้นเท่าไรนัก ความง่ายในการขยายเครือข่ายและการใช้งาน ได้ทำให้อินเตอร์เน็ตเริ่มได้รับความนิยมนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนกลายมาเป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงทั่วโลก
การใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล
การใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
กำเนิดอินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกำเนิดเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทำงานได้ ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวิร์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นอย่างมาก
ระบบเครือข่ายแบบเดิม
ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด ระบบก็จะเสียหายและทำให้การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็ยังดำเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอื่นเชื่อมโยงกันจนได้ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสำเร็จ ก็มีองค์กรมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่างกันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูลข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก
ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนำอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (Prince of Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC (Thailand) จำกัดได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำ “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน (Domain) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากคำว่า Thailand
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินเทอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี (UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” (THAInet) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ (Gateway) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย (ปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ตประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 แห่งเท่านั้น ส่วนใหญ่ย้ายการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ตโดยผ่านเนคเทค (NECTEC) หรือศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ)
การใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล
1 What is a Search Engine? เป็นเครื่องมือค้นหาอะไร
Strictly speaking, a search engine is any piece of software which searches an index. อย่างเคร่งครัดพูดเครื่องมือค้นหาเป็นดัชนีที่ชิ้นส่วนของซอฟต์แวร์ที่ค้นหา However, on the Internet, the term is used to mean one of the Web sites which provide a searchable index of the Web (and possibly other parts of the Internet) and which can be used to locate Internet resources. อย่างไรก็ตามบนอินเทอร์เน็ตจะใช้คำว่าใช้ในความหมายหนึ่งของเว็บไซต์ที่ให้ดัชนีค้นหาของเว็บ (และส่วนอื่น ๆ อาจของ Internet) และที่สามารถใช้เพื่อค้นหาทรัพยากรอินเทอร์เน็ต Some of the main search engines are: บางเครื่องมือค้นหาหลัก :All search engines offer: All เสนอเครื่องมือค้นหา :
- a search field to type in the words you are looking for (the search terms ) ช่องค้นหาให้พิมพ์คำที่คุณกำลังมองหา (คำค้นหา)
- a search button to start the search ปุ่มค้นหาเพื่อเริ่มต้นการค้นหา
- a help page หน้าความช่วยเหลือ
Once the search is completed, you will be offered an initial page which reports the number of hits (ie pages which match your search criteria) and lists the first batch of these (usually 10 or 20). เมื่อค้นหาเสร็จสมบูรณ์คุณจะได้รับหน้าแรกที่รายงานจำนวนของความนิยม (หน้าเว็บที่ตรงกับเกณฑ์การค้นหาของคุณ) และรายชื่อชุดแรกของเหล่านี้ (โดยปกติ 10 หรือ 20) There will be a set of links at the bottom of the page to take to the next or other batches of results. จะมีการเชื่อมโยงชุดของที่หน้าเว็บด้านล่างของที่จะไปหรืออื่น ๆ สำหรับกระบวนการต่อไปของผล
2. 2 Search Facilities ค้นหาสิ่งอำนวยความสะดวก
2.1 The Basic Search 2.1 Basic Search
If you just type words in to the search field, what do you get? หากคุณเพียงพิมพ์คำในช่องค้นหาสิ่งที่คุณได้รับ? On all the main search engines, you will get a list of web pages which contain all the words you have entered. ในทุกเครื่องมือค้นหาหลักของคุณจะได้รับการป้อนรายการของหน้าเว็บที่มีคำทั้งหมดที่คุณมี This is called an AND search, and it means that the more words you enter, the narrower your search, and the fewer results you will get. ซึ่งเรียกว่าการค้นหาและและก็หมายความว่าคำเพิ่มเติมที่คุณป้อนที่แคบค้นหาของคุณและผลน้อยคุณจะได้รับ Searching on a single word will mostly be a waste of time, unless it's reasonably unusual or you're searching for a high-profile name (eg metempsychosis , Radiohead , Mandela ). ค้นหาในคำเดียวส่วนใหญ่จะเป็นเวลาที่เสียเว้นแต่เป็นเหตุผิดปกติหรือคุณกำลังค้นหาชื่อ high - profile (เช่น metempsychosis, Radiohead, Mandela)Methods of looking for alternatives are discussed below. วิธีการมองหาทางเลือกที่จะกล่าวด้านล่าง
2.2 Inclusion and Exclusion 2.2 ใบและยกเว้น
All the main search engines allow you indicate which terms to include or exclude by prefixing them with + or — ทั้งหมดเครื่องมือค้นหาหลักที่ช่วยให้คุณสามารถระบุคำเพื่อรวมหรือแยก by prefixing ด้วย + หรือ --— -- | exclude search term ยกเว้นคำค้นหา |
+ + | include search term รวมคำค้นหา |
Exclusion helps you to deal with words that have a variety of meanings or uses eg +Goldsmiths -jewel -jewellery will include all pages with the word Goldsmiths except for those which probably relate to goldsmithing. ยกเว้นจะช่วยให้คุณจัดการกับคำที่มีความหมายหลากหลายหรือใช้เช่น - + ร้านทองอัญมณีเครื่องประดับ - จะรวมทุกหน้ากับร้านทองคำยกเว้นที่อาจเกี่ยวข้องกับ goldsmithing
There is little real use for the inclusion operator + except when you want to search on a so-called "stop word", a common word which search engines normally ignore. มีจริง ๆ ใช้สำหรับประกอบการรวม + ยกเว้นเมื่อคุณต้องการค้นหาในเพื่อหยุด"คำว่า"เป็นคำสามัญที่เครื่องมือค้นหาที่ไม่ปกติ If you search on Google for William I , the I is ignored; searching on William +I forces Google to include it. หากคุณค้นหาใน Google William I, I จะถูกละเว้น; ค้นหาใน William + ฉันกำลัง Google เพื่อรวม
2.3 Finding Alternatives 2.3 ทางเลือกการค้นหา
You will sometimes want to look for alternatives, eg where there are different British and US spellings or where two terms are more or less interchangeable. คุณอาจจะต้องการหาทางเลือกอื่นเช่นที่มีแตกต่างกันและการสะกดบาทที่อังกฤษหรือสองคำนี้ใช้แทนกันมากขึ้นหรือน้อยลง This is done by an OR search, and all search engines have some facilities for OR searches. นี้จะกระทำโดยการค้นหาหรือ, และเครื่องมือค้นหามีบางสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการค้นหาหรือ Some, such as Google permit you to include the word OR in your search terms; others will offer this on an advanced search page. เช่น Google อนุญาตให้คุณรวมถึงคำหรือในคำค้นหาของท่านอื่นจะเสนอนี้ในหน้าการค้นหาขั้นสูง Look at the Help Pages to find out how to do an OR search . ดูที่หน้าความช่วยเหลือเพื่อหาวิธีทำค้นหาหรือGoogle has a specific operator for including synonyms in search results: ~ . Google มีการดำเนินการเฉพาะรวมทั้งในผลการค้นหาคำเหมือน : ~ For example: ตัวอย่างเช่น
~food also finds pages with nutrition , recipes etc. ~ อาหารก็จะต้องพบหน้ากับโภชนาการสูตรเป็นต้น
2.4 Phrase search 2.4 การค้นหาคำ
To search for a group words, you need to enclose them in inverted commas. เพื่อค้นหาคำกลุ่มคุณจะต้องใส่ไว้ในเครื่องหมายจุลภาคกลับหัว Otherwise the search engine will treat them as separate search terms. มิฉะนั้นเครื่องมือค้นหาจะปฏิบัติต่อพวกเขาเป็นคำที่ใช้ค้นหาแยก
Search term คำค้นหา
|
No. hits (Google) ครั้งที่ (Google)
|
John Smith John Smith | 262 million 262000000 |
"John Smith" John Smith" | 1.3 million 1,300,000 |
This may not be necessary for phrases that are page titles or names of sites and organizations, as they will tend to be near the top of the results list anyway. นี้อาจไม่จำเป็นสำหรับข้อความที่มีชื่อหน้าหรือชื่อของเว็บไซต์และองค์กรที่พวกเขาจะมีแนวโน้มที่จะใกล้ด้านบนของผลรายการอย่างไรก็ตาม However, it is essential when looking for quotations which include some common words - try searching for "do as you would be done by" with and without inverted commas. แต่เป็นสิ่งจำเป็นเมื่อต้องการใบเสนอราคาที่รวมคำทั่วไปบาง -- ลองค้นหา"ทำตามที่คุณจะต้องทำโดย"มีและไม่มี inverted จุลภาค When searching for names, this technique has a limitation: "John Smith" will not retrieve pages with "John K. Smith" or "Smith, John" เมื่อค้นหาชื่อเทคนิคนี้มีข้อ จำกัด :"John Smith"จะไม่เรียกหน้าเว็บที่มี"John K. Smith"หรือ"Smith, John"
2.5 Related word forms 2.5 รูปแบบคำที่เกี่ยวข้อง
It can often be useful to find related word forms, and some search engines will for example, automatically find both singulars and plurals of common words (this is called stemming ). มันมักจะมีประโยชน์ในการค้นหาแบบคำที่เกี่ยวข้องและบางเครื่องมือค้นหาจะเช่นอัตโนมัติหา singulars และพหูพจน์ของคำทั่วไป (เรียกว่ากั้น) You will need to consult the help pages to find out exactly what stemming or wild card features a particular search engine offers. คุณจะต้องปรึกษาหน้าความช่วยเหลือเพื่อหาสิ่งที่กั้นหรือบัตรเสริมคุณสมบัติเครื่องมือค้นหาเฉพาะข้อเสนอ2.6 Boolean Searches 2.6 การค้นหา Boolean
If you are familiar with Boolean expressions, you will find you can use these in many search engines. You will normally need to type the Boolean operators (eg AND, OR, and NOT) in uppercase. ถ้าคุณคุ้นเคยกับสำนวน Boolean คุณจะพบคุณสามารถใช้เหล่านี้ในเครื่องมือค้นหาต่างๆ . คุณมักจะต้องดำเนินการพิมพ์ Boolean (เช่น AND, OR และ NOT) ในตัวพิมพ์ใหญ่If you are not familiar with Boolean searches, it may be worth finding out how to formulate them, as it can be the only way to create a complex query, eg หากคุณไม่คุ้นเคยกับการค้นหา Boolean อาจจะมีมูลค่าการหาวิธีการกำหนดพวกมันสามารถเป็นวิธีเดียวที่จะสร้างแบบสอบถามที่ซับซ้อนเช่น
absurd AND (theatre OR theater) AND (Camus OR Ionesco) ไร้สาระและ (โรงละครโรงละคร OR) และ (Camus หรือ Ionesco)
Note that not all search engines use the standard Boolean algebra. ไม่ทราบว่าทั้งหมดค้นหาใช้พีชคณิตบูลีนมาตรฐาน In Google, for example, you don't need the AND or the parentheses: ใน Google ตัวอย่างเช่นคุณไม่จำเป็นต้องเป็นหรือวงเล็บ :
absurd theatre OR theater Camus OR Ionesco หรือโรงละครโรงละครไร้สาระหรือ Ionesco Camus
See Links & further information for material on Boolean searching. ดู ลิงค์และข้อมูลเพิ่มเติม สำหรับวัสดุในการค้นหา Boolean
2.7 Date ranges 2.7 ช่วงวันที่
Many search engines allow you to search for pages published between two dates. เครื่องมือค้นหาจำนวนมากให้คุณเพื่อค้นหาหน้าเว็บที่เผยแพร่ระหว่างสองวัน This can be very useful if you only want to find the most recent material on a subject. However, note that the date is the date when the page was put on the Web, and the material could have been written much earlier — even a spelling correction will cause the page's date to be revised. นี้จะมีประโยชน์มากถ้าคุณต้องการที่จะหาวัสดุล่าสุดในเรื่อง . อย่างไรก็ตามโปรดทราบว่าวันที่เป็นเว็บที่เมื่อถูกนำหน้าในและวัสดุจะได้รับมากก่อนเขียน -- แม้การสะกด การแก้ไขจะทำให้วันที่เพจที่จะแก้ไข2.8 Searching for page titles 2.8 การค้นหาชื่อหน้า
If you are looking for pages which are devoted to a particular subject rather than simply including the relevant words, many search engines allow you to specify that the search terms must appear in the title of the page, eg intitle:"Using Internet Search Engines" will find this guide (and a few similar ones). หากคุณกำลังมองหาหน้าเว็บที่รองรับกับหัวเรื่องเฉพาะไม่ใช่แค่คำที่เกี่ยวข้องรวมถึงเครื่องมือค้นหาจำนวนมากให้คุณสามารถระบุว่าคำค้นหาต้องปรากฏในหน้าชื่อของเช่น intitle :"การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา" จะพบกับคู่มือนี้ (และคนที่คล้ายกันไม่กี่) Look at the Help pages of each search engine to see if this facility is provided and the appropriate syntax. ดูที่หน้าความช่วยเหลือของเครื่องมือค้นหาแต่ละครั้งเพื่อดูว่าสถานที่นี้มีให้และไวยากรณ์ที่เหมาะสม2.9 Domains 2.9 Domains
Sometimes it can be useful to search a particular web site or a group of web sites. บางครั้งอาจจะมีประโยชน์ในการค้นหาเว็บไซต์หรือกลุ่มของเว็บไซต์ All the major search engines have facilities for doing this. ทั้งหมดเครื่องมือค้นหาใหญ่มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการทำเช่นนี้ In Google, for example: ใน Google ตัวอย่างเช่นsite:www.gold.ac.uk site : www.gold.ac.uk | will find results from the College's main web site จะพบผลลัพธ์จากเว็บไซต์หลักของวิทยาลัย |
site:bbc.co.uk site : bbc.co.uk | will find results from all BBC web sites. จะพบผลลัพธ์จากเว็บไซต์บีบีซี |
site:ac.uk site : ac.uk | will find results exclusively from UK university web sites จะพบผลเฉพาะจากสหราชอาณาจักรเว็บไซต์มหาวิทยาลัย |
3. 3 Ranking and Refining การจัดอันดับและการกลั่น
The first aim of searching is to get as inclusive but precise coverage as possible — you want everything on your topic, but nothing irrelevant. จุดประสงค์แรกของการค้นหาคือการได้รับความคุ้มครองตาม แต่แม่นยำรวมที่สุด -- ทุกสิ่งที่คุณต้องการในหัวข้อของคุณ แต่ไม่มีอะไรที่ไม่เกี่ยวข้อง But the fact is that if you get thousands of results, you are never going to look at any but the first couple of pages. แต่ความจริงก็คือว่าถ้าคุณได้รับผลมากมายคุณจะไม่ไปดูที่ใด แต่คู่แรกของหน้า It is therefore important that the results which will be of most use to you are ranked high, but this is not something you have any control over. ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ผลที่จะมีการใช้มากที่สุดเพื่อคุณจะถูกจัดอันดับสูง แต่ไม่ใช่สิ่งที่คุณมีการควบคุมที่มากกว่า In general, a search engine will list first those sites which have your search terms in the page title, or where the terms have a high profile on the page (eg in headings, or occurring frequently). โดยทั่วไปจะเครื่องมือค้นหารายการแรกเว็บไซต์เหล่านั้นที่มีคำค้นหาของคุณในหน้าชื่อเรื่องหรือคำที่มีโปรไฟล์สูงในหน้า (เช่นในส่วนหัวหรือเกิดขึ้นบ่อย) Google uses page popularity for ranking. Google ความนิยมใช้สำหรับการจัดอันดับหน้าSome search engines offer an option to refine your results. บางเครื่องมือค้นหาทางเลือกเพื่อปรับแต่งผลลัพธ์ของคุณ For example, Google has a "search within results" link at the bottom of the page. เช่น Google มีการค้นหา"ในผล link"ที่ด้านล่างของหน้า
4. 4 Searching for files and images ค้นหาไฟล์และภาพ
Most search engines include (usually in the advanced search) an option to specify a particular file type - this makes it possible to look specifically for Adobe Acrobat (PDF) files, PowerPoint presentations etc. For images, use Google's dedicated image search engine . เครื่องมือค้นหามากที่สุดรวม (โดยปกติในการค้นหาขั้นสูง) ประเภทตัวเลือกเฉพาะไฟล์ที่ระบุ -- นี้ทำให้มองเฉพาะสำหรับ Adobe Acrobat (PDF) ไฟล์ PowerPoint เป็นต้นสำหรับการนำเสนอภาพของการใช้ Google เฉพาะ ภาพเครื่องมือค้นหา5. 5 Limitations ข้อจำกัด
Before you start using a search engine for serious work, it is important to recognize that all search engines share two fundamental limitations, which affect their usefulness: ก่อนที่จะเริ่มใช้เครื่องมือค้นหาสำหรับงานจริงจังเป็นสิ่งสำคัญที่จะยอมรับว่าหุ้นทั้งหมดเครื่องมือค้นหาสองข้อ จำกัด พื้นฐานที่มีผลประโยชน์ของพวกเขา- Each search engine indexes only a fraction of the Web. แต่ละดัชนีเครื่องมือค้นหาเฉพาะส่วนของเว็บ Not even the largest (currently Google) covers anywhere near half the material that is accessible. ไม่ได้ที่ใหญ่ที่สุด (ปัจจุบัน Google) ครอบคลุมทุกครึ่งใกล้วัสดุที่สามารถเข้าถึง
- No search engine is able to index material that is on the "invisible web", ie on intranets, in searchable databases etc. เครื่องมือค้นหาไม่สามารถดัชนีวัสดุที่มีอยู่ในเว็บที่มองไม่เห็น""คือในอินทราเน็ตในฐานข้อมูลค้นหาอื่นๆ
6. 6 Meta search engines Meta เครื่องมือค้นหา
Since no search engine covers the whole Web, and submitting the same query to many search engines is likely to be tedious, meta search engines such as Dogpile or MetaCrawler can be used to submit the same query to many different search engines at once. ตั้งแต่เครื่องมือค้นหาไม่ครอบคลุมทั้ง Web และการส่งแบบสอบถามเดียวกันกับเครื่องมือค้นหาจำนวนมากจะเป็นน่าเบื่อเครื่องมือค้นหา meta เช่น Dogpile หรือ MetaCrawler สามารถใช้ในการส่งแบบสอบถามเดียวกันในหลายเครื่องมือค้นหาที่แตกต่างกันในครั้งเดียว The disadvantages are that they cannot exploit the specific strengths of each search engine nor offer much guidance if your search fails. มีข้อเสียที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากจุดแข็งเฉพาะของแต่ละเครื่องมือค้นหาไม่ให้คำแนะนำมากหากการค้นหาของคุณล้มเหลว They will only give you the first few results from each search engine, so are really only of use if what you are looking for has a high ranking. พวกเขาจะให้คุณกี่ผลแรกจากเครื่องมือค้นหาแต่ละครั้งจึงมีการใช้จริงเท่านั้นหากสิ่งที่คุณต้องการมีสูงการจัดอันดับ7. 7 Tips Tips
- Make sure you look at the help pages, so that you can see which facilities each search engine offers and how you use them. ให้แน่ใจว่าคุณดูที่หน้าความช่วยเหลือเพื่อให้คุณสามารถดูว่าสิ่งอำนวยความสะดวกเครื่องมือค้นหาแต่ละข้อเสนอและวิธีการใช้งานของคุณ
- If you get too many hits, try adding search terms. ถ้าคุณได้รับความนิยมมากเกินไปให้ลองเพิ่มคำค้นหา
- If you get too few hits, check your spelling; consider using truncation or an OR search with alternative terms. ถ้าคุณได้รับความนิยมน้อยเกินไปตรวจสอบการสะกดของคุณพิจารณาใช้การตัดหรือค้นหาหรือเงื่อนไขทางเลือก
- Make sure you use the phrase search if you are looking for a book title, a name, a quotation, etc. ให้แน่ใจว่าคุณใช้การค้นหาคำว่าหากคุณกำลังมองหาชื่อหนังสือชื่อ, คำพูดฯลฯ
- No search engine indexes the entire Web — the fact that you haven't found something does not mean it's not out there somewhere. No ดัชนีเครื่องมือค้นหาทั้งเว็บ -- บางความจริงที่คุณไม่พบสิ่งไม่ได้หมายความว่าจะไม่ออกมี
- A search engine may not be the best way to find what you're looking for — perhaps you should try a directory (eg เครื่องมือค้นหาอาจไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดเพื่อค้นหาสิ่งที่คุณกำลังมองหา -- บางทีคุณอาจจะลอง directory (เช่น Yahoo) or a subject gateway yahoo) หรือ เกตเวย์เรื่อง
- If you run the same search on a regular basis, you can save it for future re-use by creating a Bookmark (Netscape or Firefox) or Favorite (Internet Explorer) once you have run it. ถ้าคุณเรียกใช้การค้นหาเดียวกันเป็นประจำ, คุณสามารถบันทึกการใช้งานในอนาคตอีกด้วยการสร้าง Bookmark (Netscape หรือ Firefox) หรือ Favorite (Internet Explorer) เมื่อคุณรัน
8. 8 Links & further information ข้อมูลเชื่อมโยงและเพิ่มเติม
There is a great deal of information on the Web about how to use search engines. มีเครื่องมือที่ดีจัดการข้อมูลบนเว็บเกี่ยวกับวิธีการใช้ค้นหา The following is just a selection. ต่อไปนี้เป็นเพียงการเลือก- Guide to Effective Searching of the Internet - comprehensive tutorial from Bright Planet แนะนำการค้นหาที่มีประสิทธิภาพของอินเทอร์เน็ต -- ครอบคลุมสอนจาก Bright Planet
- Internet Searching Strategies - useful and concise guide from Rice University Internet ค้นหา Strategies -- และกระชับแนะนำที่เป็นประโยชน์จาก
Rice University - Finding Information on the Internet: A Tutorial ค้นหาข้อมูลที่ : Internet Tutorial
with a complete guide to Boolean expressions ด้วย คำแนะนำสมบูรณ์สำนวน Boolean - SearchEngineWatch: Boolean Searching - a guide to the Boolean search facilities of the main search engines SearchEngineWatch : Boolean ค้นหา -- เครื่องมือคำแนะนำในการค้นหา Boolean สิ่งอำนวยความสะดวกในการค้นหาหลักของ
- Boston University Libraries: Finding Images on the Web
ห้องสมุดมหาวิทยาลัย : การค้นหารูปภาพบนเว็บBoston - Evaluation Of Internet Searching And Search Engines การประเมินผลของ Internet ค้นหาและเครื่องมือค้นหา
- Search Engine Showdown: Search Engine Features Chart - comparison of search engine features Search Engine Showdown : Search Engine Features Chart -- การเปรียบเทียบคุณสมบัติของเครื่องมือค้นหา
- Search Engine Watch - comprehensive site devoted to search engines and how to get the best out of them - the most useful section is probably Web Searching Tips Search Engine Watch -- เว็บไซต์ครอบคลุมอุทิศให้กับเครื่องมือค้นหาและวิธีที่ดีที่สุดของพวกเขา -- ส่วนประโยชน์มากที่สุดน่าจะเป็น เว็บค้นหาเคล็ดลับ
- Steve Lawrence & C. Lee Giles, Accessibility of information on the Web in Nature , 8 July 1999, pp. 107-109. Steve Lawrence & C. Lee Giles, การเข้าถึงข้อมูลบนเว็บ ในธรรมชาติ, 8 กรกฎาคม 1999 pp, . 107-109 - definitive study on the limitations of search engine coverage -- การศึกษาที่ชัดเจนในข้อ จำกัด ของพื้นที่เครื่องมือค้นหา
ข้อดีของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตประกอบไปด้วยบริการที่หลากหลาย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการมากมาย ดังต่อไปนี้
1. ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจัย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ฯลฯ ได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลก เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการเดินทางและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
2 . ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานข่าวของสำนักข่าวต่างๆ อยู่ รวมทั้งอ่านบทความเรื่องราวที่ลงในนิตยสารหรือวารสารต่างๆ ได้ฟรีโดยมีทั้งข้อความและภาพประกอบด้วย
3. รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเสียเงินค่าตราไปรษณียากร ถึงแม้จะเป็นการส่งข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ต้องเสียเงินเพิ่มขึ้นเหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์นี้นอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่งแฟ้มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงพร้อมกันไปได้ด้วย
4. สนทนากับผู้อื่นที่อยู่ห่างไกลได้ทั้งในลักษณะการพิมพ์ข้อความและเสียง
5. ร่วมกลุ่มอภิปรายหรือกลุ่มข่าวเพื่อแสดงความคิดเห็น หรือพูดคุยถกปัญหากับผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกัน เป็นการขยายวิสัยทัศน์ในเรื่องที่สนใจนั้นๆ
6. ถ่ายโอนแฟ้มข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่นๆ รวมทั้งโปรแกรมต่างๆ ได้จากแหล่งที่มีผู้ให้บริการ
7. ตรวจดูราคาสินค้าและสั่งซื้อสินค้ารวมทั้งบริการต่างๆ ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปห้างสรรพสินค้า
8. ให้ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟังเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไปถึงการแข่งขันเกมกับผู้อื่นได้ทั่วโลก
9.ติดประกาศข้อความที่ต้องการให้ผู้อื่นทราบได้อย่างทั่วถึง
10. ให้เสรีภาพในการสื่อสารทุกรูปแบบแก่บุคคลทุกคน
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทำงานได้ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นอย่างมาก
ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสำเร็จ ก็มีองค์กรมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่างกันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูลข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก
ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนำอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จำกัดได้ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำ “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากคำว่า Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งานอินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies ) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ ( Gateway ) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย
ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโตมากกว่า 100 % สมาชิกของอินเตอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
ความหมายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง ( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทำงานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเล่นอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทำให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำกัดระยะทาง และสามารถส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียง โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้
ความสำคัญของอินเทอร์เน็ต
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเราเป็นอย่างมาก เพราะทำให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าวปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสารสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีความสำคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปัจจุบันเป็นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น
1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญ ดังนี้
1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3. นักเรียนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อควาเสียง ภาพเคลื่อนไหว
2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญดังนี้
1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ
3. เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้า ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ
4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำแนะนำ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)
3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญดังนี้
1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสือทั่ว ๆ ไป
2. สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้
ยุคปัจจุบันนอกจากจะเป็นยุคโลกาภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่งสารสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเริ่มก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญทั้งในภาคธุรกิจและในภาคการศึกษา ดังจะเห็นได้จาก การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประกาศนโยบายที่จะให้ทุกห้องเรียนสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภายในปี ค.ศ. 2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับการศึกษาด้านเทคโนโลยีนี้ ในประเทศไทยเอง ถึงแม้จะไม่มีการประกาศแผนนโยบายด้านนี้ชัดเจน อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้าวเข้ามาสู่สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับอุดมศึกษา ดังจะเห็นได้จากการที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ลงทุนติดตั้งระบบเครือข่าย network ภายในและต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อให้อาจารย์และนิสิตนักศึกษาได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน การนำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เป็นการนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มอง เห็นข้อดีของการใช้ประโยชน์จากสื่อนี้เพื่อการศึกษา เพราะมองว่าอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสารเข้าถึงข้อ มูลได้อย่างมากมายและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีการเรียนรู้แบบ self center มากขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในเชิงลบ คือมองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบการศึกษาว่า จะส่งผลให้เกิดการปรับ เปลี่ยนโครงสร้างการศึกษาไปจนถึงล้มล้างระบบและสถาบันการศึกษาที่มีมากว่า 2500 ปี
2. ทำไมต้องนำสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย
มีเหตุผลและปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้หลายๆคนเชื่อว่าการนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบ การศึกษาแทบจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำคัญอันหนึ่ง คือความจำเป็นทางเศรษฐกิจ Prowse (1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายของการศึกษาที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ ค่าใช้จ่ายของหน่วยกิตในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มขึ้น 174% ภายใน 10 ปี มากกว่าอัตราขยายตัวของ consumer price ถึง 3 เท่า van Vught (1997) กล่าวว่าค่าใช้จ่ายในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มจาก 9% ของรายได้ครัวเรือน (median family income) ในปี 1979 ไปเป็น 15% ในปี 1994 หากเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ค่าใช้จ่ายจะเพิ่มมากยิ่งขึ้น (20% ในปี 1979 และ 40% ในปี 1994) การเพิ่มของค่าใช้จ่ายด้านการศึกษานี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาด้วย การที่จะลดค่าใช้จ่ายลง จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่า ค่าใช้จ่ายต่อหัวของการเรียนในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานั้น สูงถึง US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง US$10,000 แต่ค่าใช้จ่ายต่อหัวของการเรียนในแบบ distantlearning (คำนวณจาก 11 มหาวิทยาลัยใน China, France, India, Indonesia, Iran, Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and the UK) นั้นไม่ถึง US$350 เขาจึงเชื่อว่า การนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตมาใช้ในการสอนแบบ distant learning จะเป็นรูปแบบของมหาวิทยาลัยในอนาคต เพราะรูปแบบมหาวิทยาลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่เหมาะสมกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพราะมีแต่จะทำให้ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในขณะที่การสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนจะเริ่มลดลง
อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของการเติบโตอย่างรวดเร็วของศาสตร์แต่ละศาสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่าง วารสารวิชาการ Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลาถึง 31 ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่องานวิจัยออกมา 1 ล้านชิ้น และใช้เวลาอีก 18 ปีต่อมาสำหรับตีพิมพ์บทคัดย่ออีก 1 ล้านชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลาไม่ถึง 2 ปีก็สามารถตีพิมพ์บทคัดย่อออกมาได้กว่า 1 ล้านชิ้น ความเติบโตนี้เองที่ทำให้มีการแตกแขนงของสาขาวิชาต่างๆมากมายทำให้มหาวิทยาลัยไม่ afford ที่จะมีผู้เชี่ยวชาญในทุกๆสาขา แม้แต่ในภาควิชาเดียวกัน ก็ยังมีการแยกย่อยสาขาจนแทบหาผู้เชี่ยวชาญในสาขาเดียวกันเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในมหาวิทยาลัยได้ยากการใช้ อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหานี้เพราะทำให้เกิด virtual community ของผู้ที่มีความสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่างไกลกันได้ ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ นอกจากนี้ในเรื่องของ การสะสมสิ่งตีพิมพ์ก็เป็นไปได้ยากที่มหาวิทยาลัยจะทำให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม เพราะค่าใช้จ่ายที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam ยกตัวอย่างของวารสาร Chemical Abstracts ซึ่งค่าสมาชิกรายปี ได้เพิ่มจาก $12 ในปี 1940 เป็น $3,700 ในปี 1977 และเป็น $17,400 ในปี 1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่าใช้จ่ายด้านนี้เริ่มมีการจัดพิมพ์วารสาร online หรือเปิดให้บริการเป็นสมาชิกวารสารผ่านทางอินเตอร์เน็ตมากขึ้น
นอกจากปัจจัยทางเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทางสังคมก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้การนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก การเติบโตและการเป็นที่ยอมรับของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และการแพร่หลายของการใช้อินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดการคาดหวังจากสังคมว่า มหาวิทยาลัยจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีด้านนี้พร้อมเพื่อรองรับความต้องการของนิสิต ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างภาพว่ามหาวิทยาลัยได้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา
แม้ว่าผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ามีประโยชน์ต่อการทำวิจัยเพราะช่วยในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มองว่าอินเตอร์เน็ตจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อระบบการศึกษาในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการควบคุมความรู้ (knowledge) หรือข่าวสาร (information) ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถาบันการศึกษาอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด Noam (1995) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ โดยกล่าวว่า ในยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ายทอด information โดยการท่องจำ ต่อมาเมื่อมีระบบการเขียน จึงมีการจัดเก็บข้อมูล มีห้องสมุดขึ้น เช่น Great Library of Alexandria ซึ่งมีการจัดระบบข้อมูลความรู้และกระบวนการ หาความรู้คล้ายๆกับการมีภาควิชาต่างๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้เป็นการรวมศูนย์ความรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเดินทางเข้ามาเพื่อรับการถ่ายทอดความรู้นั้นจากผู้ที่ได้รับการยอมรับว่าทรงคุณวุฒิ รูปแบบการศึกษาแบบนี้คงอยู่มาเป็นเวลา 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทางของ information flow กำลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเข้ามาหาความรู้ แต่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลความรู้ให้มาหาตนได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหาวิทยาลัยซึ่งมีหน้าที่หลักสองอย่างคือ เป็น authority ในการ transfer informationและเป็นแหล่งรวบรวม information ก็จะค่อยๆสูญเสียความสำคัญของบทบาททั้งสองลงในที่สุด
Noam (1995) ยังกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้ แตกต่างจากเมื่อคราวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลายคนเชื่อกันว่าสื่อวิทยุโทรทัศน์จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาอย่างมากแต่ท้ายที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำนาย จึงมีผู้วิจารณ์ว่าสื่ออินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่ Noam แย้งว่าสื่ออินเตอร์เน็ตมีลักษณะที่ต่างไป เพราะการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นการเปลี่ยนของ information flow ในขณะที่การนำสื่อวิทยุโทรทัศน์มาใช้ไม่ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจากนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่อที่ถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำในสังคมได้ง่าย ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สามารถถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่า การควบคุม information มีความสำคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำในสังคม ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำดำรงบทบาทตัวเองอยู่ได้โดย อาศัยการควบคุม information คือกำหนดว่าใครควรจะรู้ และควรจะรู้อะไร ผ่านสถาบันการศึกษาซึ่งทำหน้าที่สืบทอดอุดมการณ์ต่างๆ (ideological values) ของชนชั้นนำ สถาบันการศึกษาจึงมีบทบาทเพื่อสนับสนุนโครงสร้างของสังคม โดยการ "make sure that whoever has access to knowledge only knows what we want them to know, and make sure that they think just like we want them to think" จึงไม่แปลกอย่างไรที่สื่อวิทยุโทรทัศน์เมื่อถูกนำเข้ามาในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำเพื่อสืบทอดอุดมการณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพราะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชาติที่เป็นการกระจายเสียงและภาพจากสถานีแม่ข่าย จึงถูกควบคุมได้ง่ายกว่า ต่างจากสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สามารถทำหน้าที่ให้ข้อมูลก็ได้ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อง ก็สามารถสร้าง web site เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆได้
นอกจากความคิดที่ว่า สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบาทความสำคัญของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่า คือ การเปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบการเรียนการสอน ทั้งนี้เพราะสื่ออินเตอร์เน็ตจะทำให้เรื่องของสถานที่และเวลาลดความสำคัญลง เพราะผู้เรียนไม่จำเป็นต้องมารวมกันในห้องเรียน ไม่จำเป็นต้องมาเรียนในชั่วโมงเดียวกัน แต่สามารถเข้าเรียนจากที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access จะเข้าเรียนเวลาใดก็ได้ตามสะดวกนอกจากนี้ ผู้เรียนยังสามารถเปรียบเทียบรายวิชาที่ตัวเองเรียนกับรายวิชาที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย บทบาทของอาจารย์จึงไม่ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้จากแหล่งอื่นและนำมาเปรียบเทียบได้ ในบริบทใหม่นี้ อาจารย์จึงเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงในแบบเดิมมาเป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ของผู้เรียนมากกว่า ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดยอาศัยคำแนะนำจากอาจารย์ รูปแบบการเรียนการสอนจึงเปลี่ยนจากการบรรยายความรู้มาเป็น problem solving oriented และเป็น team-based
4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา
อีกกลุ่มเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทางลบขนาดนั้น แต่กลับมองว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ตเพื่อขยายขอบเขตของมหาวิทยาลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ van Vught (1997) เชื่อว่า information technology จะเข้ามาช่วยให้การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จะไม่สามารถเข้ามาแทนที่การมีโรงเรียนและมหาวิทยาลัยได้ โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบการศึกษาแต่ก็ยอมรับกันว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก จากเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น school without wall และเปลี่ยนจากการเรียนการสอนแบบบรรยายในชั้นเรียนมาเป็นแนวการเรียนการสอนแบบกระตุ้นให้เรียนและค้นคว้าเป็นทีม (stimulate team-based learning)
ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา คือการเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การค้นหาข่าวสารข้อมูลต่างๆเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี web site ต่างๆเกิดขึ้นมากมาย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ รูปแบบระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มีหนังสือในเรื่องต่างๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่านและค้นคว้าได้ online การใช้ email ช่วยให้การติดต่อข่าวสารระหว่างนักวิชาการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิชาการในสาขาเดียวกันทั่วโลกเป็นไปได้ การเรียนแบบ online ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนได้ตามขีดความสามารถของตนเอง ใครมีความสามารถมากก็เรียนได้เร็วกว่า นักเรียนที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในห้องก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้นผ่านการใช้ email หรือ discussion group
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก สามารถนำมาใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางและต้นทุนต่ำกว่าช่องทางอื่น ทำให้มีการปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย1ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมายภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
2. บริการสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay chat) เป็นการพูดคุยกันระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ข้อความตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ไดัรับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตาม
3. บริการสื่อสารด้วยเสียง ภาพ และการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (VDO Conference) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนามากขึ้นทำให้กลายเป็นช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งได้ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพาะภาพคู่สนทนา รวมทั้งการจัดประชุมทางไกลผ่านจอภาพที่ได้รับทั้งภาพและเสียง
4. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริการอินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง โดยให้เครื่องทั้งสองต่ออินเทอร์เน็ตไว้ เราสามารถเรียกข้อมูลจากเครื่องที่ต้องการมายังเครื่องส่วนตัวได้
5. การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นบริการอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง
6. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนู ทำให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine จำนวนมากคอยให้บริการ
7. การเผยแพร่ข้อมูลความสาร ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเทอร์เน็ต
8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) ให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมีการจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่าง ๆ เช่น เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet มากกว่า15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทั่วมุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
9. การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น ขายหนังสือ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็นต้น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในการทำธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง นับเป็นธุรกรรมและการโฆษณาที่มีต้นทุนต่ำที่สุดอีกด้วย
10. การให้ความบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงในทุกรูปแบบต่า งๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก
11. บริการด้านการศึกษา (E-Learning) และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปัจจุบันการศึกษาได้ขยายโอกาสผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจำนวนมาก ทั้งการศึกษานอกหลักสูตรและในหลักสูตร ช่วยให้โอกาสทางการศึกษากระจายไปอย่างทั่วถึง นอกจากนี้การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกาสให้สามารถเลือกสถานศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อยู่เมืองไทยก็สามารถรับปริญญามหาวิทยาลัยต่างประเทศได้ด้วยการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต
- โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขาย
ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ
- อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำให้การค้นหากระทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร
- เติบโตเร็วเกินไป
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อน
- ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (นั่นจะเป็นเฉพาะการต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงจะสามารถใช้งานโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย)
- เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวางระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำชำเรา
- ทำให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว
โรคติดอินเทอร์เน็ต
โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต
- รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต
- มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
- รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้
- คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น
- ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา
- หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง
- มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย
ซึ่งอาการดังกล่าว ถ้ามีมากกว่า 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่างกาย ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อการเรียน สภาพสังคมของคนๆ นั้นต่อไป
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย
ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่ารุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ
หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้เป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องแต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่
- Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง
- บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหาอาชญากรรมได้เช่นกัน
- Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัย
ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่งคำสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการแฮงค์ของระบบ
เช่นการสร้างฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่งข้อมูลกระหน่ำระบบได้
- Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน ซึ่งหากอาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน
- CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน
- Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทางที่อำนวย
ความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการเปิดดูรหัสคำสั่ง (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนำมา
ใช้งานได้ทันที
- Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่อาชญากร นำไป
จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำการปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่องโหว่นั้น ก็สายเกินไปเสียแล้ว
- Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นการส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่านต่างๆ ซึ่งบราวเซอร์บางรุ่น หรือรุ่นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรือป้องกันการเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน
- Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่างมั่นใจหรือว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแฝงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทำงานตามที่กำหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทราบว่าตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง
- Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกำหนด จะถูกเรียกทำงานทันทีเมื่อมีการเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่างๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยังอาชญากร
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001
พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลำดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
ปัญหาของโลกไอที มีหลากหลายมาก การทำนายผลกระทบที่มีข้อมูลอ้างอิงอย่างพอเพียง การมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม ประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้นปัญหานี้ได้บ้าง
- อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อการละเมิดลิขสิทธิ์
เช่น เพลง หนัง
- เติบโตเร็วเกินไป
-เสี่ยงต่อการโดนจารกรรมข้อมูล การโจมตีจากไวรัส, แฮกเกอร์ และจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ มัลแวร์
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง โจมตี โฆษณาชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่
เช่น การตัดต่อรูปเพื่อการอนาจาร
- ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้
- ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่าวหาและโจมตีคู่แข่ง
ส่วนโทษเฉพาะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอินเทอร์เน็ตสามารถจำแนกออกได้ดังนี้
1. การแพร่สื่อลามก มีทั้งที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตัดต่อลามก
2. การล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวงนัดหมายไปข่มขืนหรือทำในสิ่งที่เลวร้าย
3. การค้าประเวณี มีการโฆษณาเพื่อขายบริการ รวมทั้งชักชวนให้เข้ามาสมัครขายบริการ
4. การขายสินค้าอันตราย มีตั้งแต่ยาสลบยาปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อตไฟฟ้า
5. การเผยแพร่การทำระเบิด โดยอธิบายขั้นตอนการทำอย่างละเอียด
6. การพนัน มีให้เข้าไปเล่นได้ในหลายรูปแบบ
7. การเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่าฟันและเกมละเมิดทางเพศ
อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทำงานได้ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นอย่างมาก
ระบบเครือข่ายแบบเดิม
ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด ระบบก็จะเสียหายและทำให้การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็ยังดำเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอื่นเชื่อมโยงกันจนได้ ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสำเร็จ ก็มีองค์กรมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่างกันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูลข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก
ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนำอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จำกัดได้ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำ “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากคำว่า Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งานอินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies ) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ ( Gateway ) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย
ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโตมากกว่า 100 % สมาชิกของอินเตอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
ความหมายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คำเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง ( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทำงานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเล่นอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทำให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำกัดระยะทาง และสามารถส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียง โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้
ความสำคัญของอินเทอร์เน็ต
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเราเป็นอย่างมาก เพราะทำให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าวปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสารสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีความสำคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปัจจุบันเป็นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น
1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญ ดังนี้
1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3. นักเรียนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อควาเสียง ภาพเคลื่อนไหว
2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญดังนี้
1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ
3. เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้า ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ
4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำแนะนำ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)
3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญดังนี้
1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสือทั่ว ๆ ไป
2. สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
1. ความเป็นมา ยุคปัจจุบันนอกจากจะเป็นยุคโลกาภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่งสารสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเริ่มก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญทั้งในภาคธุรกิจและในภาคการศึกษา ดังจะเห็นได้จาก การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประกาศนโยบายที่จะให้ทุกห้องเรียนสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภายในปี ค.ศ. 2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับการศึกษาด้านเทคโนโลยีนี้ ในประเทศไทยเอง ถึงแม้จะไม่มีการประกาศแผนนโยบายด้านนี้ชัดเจน อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้าวเข้ามาสู่สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับอุดมศึกษา ดังจะเห็นได้จากการที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ลงทุนติดตั้งระบบเครือข่าย network ภายในและต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อให้อาจารย์และนิสิตนักศึกษาได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน การนำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เป็นการนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มอง เห็นข้อดีของการใช้ประโยชน์จากสื่อนี้เพื่อการศึกษา เพราะมองว่าอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสารเข้าถึงข้อ มูลได้อย่างมากมายและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีการเรียนรู้แบบ self center มากขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในเชิงลบ คือมองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบการศึกษาว่า จะส่งผลให้เกิดการปรับ เปลี่ยนโครงสร้างการศึกษาไปจนถึงล้มล้างระบบและสถาบันการศึกษาที่มีมากว่า 2500 ปี
2. ทำไมต้องนำสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย
มีเหตุผลและปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้หลายๆคนเชื่อว่าการนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบ การศึกษาแทบจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำคัญอันหนึ่ง คือความจำเป็นทางเศรษฐกิจ Prowse (1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายของการศึกษาที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ ค่าใช้จ่ายของหน่วยกิตในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มขึ้น 174% ภายใน 10 ปี มากกว่าอัตราขยายตัวของ consumer price ถึง 3 เท่า van Vught (1997) กล่าวว่าค่าใช้จ่ายในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มจาก 9% ของรายได้ครัวเรือน (median family income) ในปี 1979 ไปเป็น 15% ในปี 1994 หากเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ค่าใช้จ่ายจะเพิ่มมากยิ่งขึ้น (20% ในปี 1979 และ 40% ในปี 1994) การเพิ่มของค่าใช้จ่ายด้านการศึกษานี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาด้วย การที่จะลดค่าใช้จ่ายลง จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่า ค่าใช้จ่ายต่อหัวของการเรียนในมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานั้น สูงถึง US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง US$10,000 แต่ค่าใช้จ่ายต่อหัวของการเรียนในแบบ distantlearning (คำนวณจาก 11 มหาวิทยาลัยใน China, France, India, Indonesia, Iran, Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and the UK) นั้นไม่ถึง US$350 เขาจึงเชื่อว่า การนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตมาใช้ในการสอนแบบ distant learning จะเป็นรูปแบบของมหาวิทยาลัยในอนาคต เพราะรูปแบบมหาวิทยาลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่เหมาะสมกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพราะมีแต่จะทำให้ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในขณะที่การสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนจะเริ่มลดลง
อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของการเติบโตอย่างรวดเร็วของศาสตร์แต่ละศาสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่าง วารสารวิชาการ Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลาถึง 31 ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่องานวิจัยออกมา 1 ล้านชิ้น และใช้เวลาอีก 18 ปีต่อมาสำหรับตีพิมพ์บทคัดย่ออีก 1 ล้านชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลาไม่ถึง 2 ปีก็สามารถตีพิมพ์บทคัดย่อออกมาได้กว่า 1 ล้านชิ้น ความเติบโตนี้เองที่ทำให้มีการแตกแขนงของสาขาวิชาต่างๆมากมายทำให้มหาวิทยาลัยไม่ afford ที่จะมีผู้เชี่ยวชาญในทุกๆสาขา แม้แต่ในภาควิชาเดียวกัน ก็ยังมีการแยกย่อยสาขาจนแทบหาผู้เชี่ยวชาญในสาขาเดียวกันเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในมหาวิทยาลัยได้ยากการใช้ อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหานี้เพราะทำให้เกิด virtual community ของผู้ที่มีความสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่างไกลกันได้ ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ นอกจากนี้ในเรื่องของ การสะสมสิ่งตีพิมพ์ก็เป็นไปได้ยากที่มหาวิทยาลัยจะทำให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม เพราะค่าใช้จ่ายที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam ยกตัวอย่างของวารสาร Chemical Abstracts ซึ่งค่าสมาชิกรายปี ได้เพิ่มจาก $12 ในปี 1940 เป็น $3,700 ในปี 1977 และเป็น $17,400 ในปี 1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่าใช้จ่ายด้านนี้เริ่มมีการจัดพิมพ์วารสาร online หรือเปิดให้บริการเป็นสมาชิกวารสารผ่านทางอินเตอร์เน็ตมากขึ้น
นอกจากปัจจัยทางเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทางสังคมก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้การนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก การเติบโตและการเป็นที่ยอมรับของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และการแพร่หลายของการใช้อินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดการคาดหวังจากสังคมว่า มหาวิทยาลัยจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีด้านนี้พร้อมเพื่อรองรับความต้องการของนิสิต ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างภาพว่ามหาวิทยาลัยได้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา
แม้ว่าผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ามีประโยชน์ต่อการทำวิจัยเพราะช่วยในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มองว่าอินเตอร์เน็ตจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อระบบการศึกษาในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการควบคุมความรู้ (knowledge) หรือข่าวสาร (information) ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถาบันการศึกษาอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด Noam (1995) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ โดยกล่าวว่า ในยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ายทอด information โดยการท่องจำ ต่อมาเมื่อมีระบบการเขียน จึงมีการจัดเก็บข้อมูล มีห้องสมุดขึ้น เช่น Great Library of Alexandria ซึ่งมีการจัดระบบข้อมูลความรู้และกระบวนการ หาความรู้คล้ายๆกับการมีภาควิชาต่างๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้เป็นการรวมศูนย์ความรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเดินทางเข้ามาเพื่อรับการถ่ายทอดความรู้นั้นจากผู้ที่ได้รับการยอมรับว่าทรงคุณวุฒิ รูปแบบการศึกษาแบบนี้คงอยู่มาเป็นเวลา 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทางของ information flow กำลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเข้ามาหาความรู้ แต่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลความรู้ให้มาหาตนได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหาวิทยาลัยซึ่งมีหน้าที่หลักสองอย่างคือ เป็น authority ในการ transfer informationและเป็นแหล่งรวบรวม information ก็จะค่อยๆสูญเสียความสำคัญของบทบาททั้งสองลงในที่สุด
Noam (1995) ยังกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้ แตกต่างจากเมื่อคราวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลายคนเชื่อกันว่าสื่อวิทยุโทรทัศน์จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาอย่างมากแต่ท้ายที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำนาย จึงมีผู้วิจารณ์ว่าสื่ออินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่ Noam แย้งว่าสื่ออินเตอร์เน็ตมีลักษณะที่ต่างไป เพราะการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นการเปลี่ยนของ information flow ในขณะที่การนำสื่อวิทยุโทรทัศน์มาใช้ไม่ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจากนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่อที่ถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำในสังคมได้ง่าย ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สามารถถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่า การควบคุม information มีความสำคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำในสังคม ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำดำรงบทบาทตัวเองอยู่ได้โดย อาศัยการควบคุม information คือกำหนดว่าใครควรจะรู้ และควรจะรู้อะไร ผ่านสถาบันการศึกษาซึ่งทำหน้าที่สืบทอดอุดมการณ์ต่างๆ (ideological values) ของชนชั้นนำ สถาบันการศึกษาจึงมีบทบาทเพื่อสนับสนุนโครงสร้างของสังคม โดยการ "make sure that whoever has access to knowledge only knows what we want them to know, and make sure that they think just like we want them to think" จึงไม่แปลกอย่างไรที่สื่อวิทยุโทรทัศน์เมื่อถูกนำเข้ามาในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำเพื่อสืบทอดอุดมการณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพราะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชาติที่เป็นการกระจายเสียงและภาพจากสถานีแม่ข่าย จึงถูกควบคุมได้ง่ายกว่า ต่างจากสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สามารถทำหน้าที่ให้ข้อมูลก็ได้ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อง ก็สามารถสร้าง web site เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆได้
นอกจากความคิดที่ว่า สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบาทความสำคัญของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่า คือ การเปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบการเรียนการสอน ทั้งนี้เพราะสื่ออินเตอร์เน็ตจะทำให้เรื่องของสถานที่และเวลาลดความสำคัญลง เพราะผู้เรียนไม่จำเป็นต้องมารวมกันในห้องเรียน ไม่จำเป็นต้องมาเรียนในชั่วโมงเดียวกัน แต่สามารถเข้าเรียนจากที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access จะเข้าเรียนเวลาใดก็ได้ตามสะดวกนอกจากนี้ ผู้เรียนยังสามารถเปรียบเทียบรายวิชาที่ตัวเองเรียนกับรายวิชาที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย บทบาทของอาจารย์จึงไม่ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้จากแหล่งอื่นและนำมาเปรียบเทียบได้ ในบริบทใหม่นี้ อาจารย์จึงเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงในแบบเดิมมาเป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ของผู้เรียนมากกว่า ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดยอาศัยคำแนะนำจากอาจารย์ รูปแบบการเรียนการสอนจึงเปลี่ยนจากการบรรยายความรู้มาเป็น problem solving oriented และเป็น team-based
4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา
อีกกลุ่มเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทางลบขนาดนั้น แต่กลับมองว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ตเพื่อขยายขอบเขตของมหาวิทยาลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ van Vught (1997) เชื่อว่า information technology จะเข้ามาช่วยให้การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จะไม่สามารถเข้ามาแทนที่การมีโรงเรียนและมหาวิทยาลัยได้ โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบการศึกษาแต่ก็ยอมรับกันว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก จากเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น school without wall และเปลี่ยนจากการเรียนการสอนแบบบรรยายในชั้นเรียนมาเป็นแนวการเรียนการสอนแบบกระตุ้นให้เรียนและค้นคว้าเป็นทีม (stimulate team-based learning)
ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา คือการเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การค้นหาข่าวสารข้อมูลต่างๆเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี web site ต่างๆเกิดขึ้นมากมาย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ รูปแบบระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มีหนังสือในเรื่องต่างๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่านและค้นคว้าได้ online การใช้ email ช่วยให้การติดต่อข่าวสารระหว่างนักวิชาการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิชาการในสาขาเดียวกันทั่วโลกเป็นไปได้ การเรียนแบบ online ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนได้ตามขีดความสามารถของตนเอง ใครมีความสามารถมากก็เรียนได้เร็วกว่า นักเรียนที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในห้องก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้นผ่านการใช้ email หรือ discussion group
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก สามารถนำมาใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางและต้นทุนต่ำกว่าช่องทางอื่น ทำให้มีการปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย1ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมายภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
2. บริการสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay chat) เป็นการพูดคุยกันระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ข้อความตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ไดัรับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตาม
3. บริการสื่อสารด้วยเสียง ภาพ และการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (VDO Conference) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนามากขึ้นทำให้กลายเป็นช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งได้ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพาะภาพคู่สนทนา รวมทั้งการจัดประชุมทางไกลผ่านจอภาพที่ได้รับทั้งภาพและเสียง
4. การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริการอินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง โดยให้เครื่องทั้งสองต่ออินเทอร์เน็ตไว้ เราสามารถเรียกข้อมูลจากเครื่องที่ต้องการมายังเครื่องส่วนตัวได้
5. การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นบริการอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง
6. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนู ทำให้เราหาข็อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine จำนวนมากคอยให้บริการ
7. การเผยแพร่ข้อมูลความสาร ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเทอร์เน็ต
8. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) ให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมีการจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่าง ๆ เช่น เรื่องหนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์และการเมือง เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet มากกว่า15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทั่วมุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
9. การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ - สินค้าและบริการ เช่น ขายหนังสือ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็นต้น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในการทำธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง นับเป็นธุรกรรมและการโฆษณาที่มีต้นทุนต่ำที่สุดอีกด้วย
10. การให้ความบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงในทุกรูปแบบต่า งๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก
11. บริการด้านการศึกษา (E-Learning) และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปัจจุบันการศึกษาได้ขยายโอกาสผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจำนวนมาก ทั้งการศึกษานอกหลักสูตรและในหลักสูตร ช่วยให้โอกาสทางการศึกษากระจายไปอย่างทั่วถึง นอกจากนี้การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกาสให้สามารถเลือกสถานศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อยู่เมืองไทยก็สามารถรับปริญญามหาวิทยาลัยต่างประเทศได้ด้วยการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต
- โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขาย
ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ
- อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำให้การค้นหากระทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร
- เติบโตเร็วเกินไป
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อน
- ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (นั่นจะเป็นเฉพาะการต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงจะสามารถใช้งานโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย)
- เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวางระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำชำเรา
- ทำให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว
โรคติดอินเทอร์เน็ต
โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต
- รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต
- มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
- รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้
- คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น
- ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา
- หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง
- มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย
ซึ่งอาการดังกล่าว ถ้ามีมากกว่า 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่างกาย ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อการเรียน สภาพสังคมของคนๆ นั้นต่อไป
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย
ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่ารุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ
หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้เป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องแต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่
- Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง
- บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหาอาชญากรรมได้เช่นกัน
- Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัย
ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่งคำสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการแฮงค์ของระบบ
เช่นการสร้างฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่งข้อมูลกระหน่ำระบบได้
- Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง
- บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงานจนมาก่อปัญหาอาชญากรรมได้เช่นกัน
- Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัย
ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่งคำสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่งข้อมูลกระหน่ำระบบได้- Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน ซึ่งหากอาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน
- CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน
- Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทางที่อำนวย
ความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการเปิดดูรหัสคำสั่ง (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนำมา
ใช้งานได้ทันที
- Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่อาชญากร นำไป
จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำการปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่องโหว่นั้น ก็สายเกินไปเสียแล้ว
- Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นการส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่านต่างๆ ซึ่งบราวเซอร์บางรุ่น หรือรุ่นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรือป้องกันการเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน
- Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่างมั่นใจหรือว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแฝงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทำงานตามที่กำหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทราบว่าตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง
- Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกำหนด จะถูกเรียกทำงานทันทีเมื่อมีการเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่างๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยังอาชญากร
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001
พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลำดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
ปัญหาของโลกไอที มีหลากหลายมาก การทำนายผลกระทบที่มีข้อมูลอ้างอิงอย่างพอเพียง การมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม ประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้นปัญหานี้ได้บ้าง
- อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
- ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อการละเมิดลิขสิทธิ์
เช่น เพลง หนัง
- เติบโตเร็วเกินไป
-เสี่ยงต่อการโดนจารกรรมข้อมูล การโจมตีจากไวรัส, แฮกเกอร์ และจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ มัลแวร์
- ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง โจมตี โฆษณาชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่
เช่น การตัดต่อรูปเพื่อการอนาจาร
- ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
- ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้
- ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่าวหาและโจมตีคู่แข่ง
ส่วนโทษเฉพาะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอินเทอร์เน็ตสามารถจำแนกออกได้ดังนี้
1. การแพร่สื่อลามก มีทั้งที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตัดต่อลามก
2. การล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวงนัดหมายไปข่มขืนหรือทำในสิ่งที่เลวร้าย
3. การค้าประเวณี มีการโฆษณาเพื่อขายบริการ รวมทั้งชักชวนให้เข้ามาสมัครขายบริการ
4. การขายสินค้าอันตราย มีตั้งแต่ยาสลบยาปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อตไฟฟ้า
5. การเผยแพร่การทำระเบิด โดยอธิบายขั้นตอนการทำอย่างละเอียด
6. การพนัน มีให้เข้าไปเล่นได้ในหลายรูปแบบ
7. การเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่าฟันและเกมละเมิดทางเพศ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)